รายพระนามจักรพรรดิราชวงศ์ซ่ง

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

ราชวงศ์ซ่ง (宋朝; ค.ศ. 960–1279) เป็นราชวงศ์ในประวัติศาสตร์จีน สมัยก่อนหน้า คือ ยุคห้าวงศ์สิบรัฐ (五代十國; ค.ศ. 907–960) สมัยถัดมา คือ ราชวงศ์ยฺเหวียน (元朝; ค.ศ. 1271–1368)

ราชวงศ์ซ่งอาจแบ่งเป็น 2 ช่วง คือ ซ่งเหนือ (北宋; ค.ศ. 960–1127) และซ่งใต้ (南宋; ค.ศ. 1127–1279) โดยเอาการพิชิตจีนเหนือและจีนใต้ของราชวงศ์จิน (金朝; ค.ศ. 1115–1234) เมื่อ ค.ศ. 1127 อันเป็นเหตุให้ซ่งต้องเปลี่ยนเมืองหลวงจากเปี้ยนจิง (汴京) ในภาคเหนือ ลงไปยังหลินอัน (臨安) ในภาคใต้ เป็นจุดแบ่ง

จ้าว ควงอิ้น (趙匡胤) ขุนพลแห่งราชวงศ์โจวยุคหลัง (後周) แย่งชิงราชสมบัติจากไฉ จงซฺวิ่น (柴宗訓) ยุวกษัตริย์ราชวงศ์โจว แล้วก่อตั้งราชวงศ์ซ่งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 960 ลูกหลานของเขาขึ้นเป็นจักรพรรดิสืบราชสมบัติต่อมาอีก 17 พระองค์ จึงสิ้นราชวงศ์ซ่ง รวมกษัตริย์ราชวงศ์นี้ทั้งสิ้น 18 พระองค์ แบ่งเป็นจักรพรรดิราชวงศ์ซ่งเหนือ 9 พระองค์ และซ่งใต้อีก 9 พระองค์ ทุกพระองค์ใช้ชื่อสกุลว่า "จ้าว" (趙)

เบื้องล่างนี้ คือ รายพระนามจักรพรรดิทุกพระองค์ของราชวงศ์ซ่ง ประกอบด้วย ชื่อวัดประจำรัชกาล, พระนามประจำพระองค์ (ชื่อตัว), พระนามที่ได้รับหลังสิ้นพระชนม์, และชื่อรัชศก

รายพระนาม

แก้
ที่ รูป ชื่อวัดประจำรัชกาล พระนามประจำพระองค์ พระปัจฉามรณนาม ชื่อรัชศก รัชกาล
ราชวงศ์ซ่งเหนือ (ค.ศ. 960–1127)
1   ไท่จู่ (太祖) จ้าว ควงอิ้น (趙匡胤) จักรพรรดิฉี่-ยฺวิ่น ลี่จี๋ อิงอู่ รุ่ยเหวิน เฉินเต๋อ เชิ่งกง จื้อหมิง ต้าเซี่ยว (啟運立極英武睿文神德聖功至明大孝皇帝)
  • เจี้ยนหลง (建隆; ค.ศ. 960–963)[1]
  • เฉียนเต๋อ (乾德; ค.ศ. 963–968)[2]
  • ไคเป่า (開寶; ค.ศ. 968–976)[3]
ค.ศ. 960–976
2   ไท่จง (太宗)
  • จ้าว ควงอี้ (趙匡義; ค.ศ. 939–960)
  • จ้าว กวังอี้ (趙光義; ค.ศ. 960–977)
  • จ้าว จฺย่ง (趙炅; ค.ศ. 977)
จักรพรรดิจื้อเหริน อิงเต้า เฉินกง เชิ่งเต๋อ เหวินอู่ รุ่ยเลี่ย ต้าหมิง กวั่งเซี่ยว (至仁應道神功聖德文武睿烈大明廣孝皇帝)
  • ไท่ผิงซิงกั๋ว (太平興國; ค.ศ. 976–984)[4]
  • ยงซี (雍熙; ค.ศ. 984–988)[5]
  • ตฺวันก่ง (端拱; ค.ศ. 988–989)[6]
  • ฉุนฮฺว่า (淳化; ค.ศ. 990–994)[7]
  • จื้อเต้า (至道; ค.ศ. 995–997)[8]
ค.ศ. 976–997
3   เจินจง (真宗)
  • จ้าว เต๋อชาง (趙德昌; ค.ศ. 968–983)
  • จ้าว ยฺเหวียนซิว (趙元休; ค.ศ. 983–986)
  • จ้าว ยฺเหวียนข่าน (趙元侃; ค.ศ. 986–995)
  • จ้าว เหิง (趙恆; ค.ศ. 995–1022)
จักรพรรดิอิงฝู จีกู่ เฉิงกง ร่างเต๋อ เหวินหมิง อู่ติ้ง จางเชิ่ง ยฺเหวียนเซี่ยว (應符稽古神功讓德文明武定章聖元孝皇帝)
  • เสียนผิง (咸平; ค.ศ. 998–1003)[9]
  • จิ่งเต๋อ (景德; ค.ศ. 1004–1007)[10]
  • ต้าจงเสียงฝู (大中祥符; ค.ศ. 1008–1016)[11]
  • เทียนสี่ (天禧; ค.ศ. 1017–1021)[12]
  • เฉียนซิง (乾興; ค.ศ. 1022)[13]
ค.ศ. 997–1022
4   เหรินจง (仁宗)
  • จ้าว โช่วอี้ (趙受益; ค.ศ. 1010–1018)
  • จ้าว เจิน (趙禎; ค.ศ. 1018–1063)
จักรพรรดิถี่เทียน ฝ่าเต้า จี้กง เฉฺวียนเต๋อ เฉินเหวิน เชิ่งอู่ รุ่ยเจ๋อ หมิงเซี่ยว (體天法道極功全德神文聖武睿哲明孝皇帝)
  • เทียนเชิ่ง (天聖; ค.ศ. 1023–1032)[14]
  • หมิงเต้า (明道; ค.ศ. 1032–1033)[15]
  • จิ่งโย่ว (景祐; ค.ศ. 1034–1038)[16]
  • เป่า-ยฺเหวียน (寶元; ค.ศ. 1038–1040)[17]
  • คังติ้ง (康定; ค.ศ. 1040–1041)[18]
  • ชิ่งลี่ (慶曆; ค.ศ. 1041–1048)[19]
  • หฺวังโย่ว (皇祐; ค.ศ. 1049–1053)[20]
  • จื้อเหอ (至和; ค.ศ. 1054–1056)[21]
  • เจียโย่ว (嘉祐; ค.ศ. 1056–1063)[22]
ค.ศ. 1022–1063
5   อิงจง (英宗)
  • จ้าว จงฉือ (趙宗實; ค.ศ. 1036–1062)
  • จ้าว ฉู่ (趙曙; ค.ศ. 1062–1067)
จักรพรรดิถี่กาน อิงลี่ หลงกง เชิ่งเต๋อ เซี่ยนเหวิน ซู่อู่ รุ่ยเชิ่ง เซฺวียนเซี่ยว (體乾應曆隆功盛德憲文肅武睿聖宣孝皇帝) จื้อ ผิง (治平; ค.ศ. 1064–1067)[23] ค.ศ. 1063–1067
6   เฉินจง (神宗)
  • จ้าว จ้งเจิน (趙仲鍼; ค.ศ. 1048–1067)
  • จ้าว ซฺวี (趙頊; ค.ศ. 1067–1085)
จักรพรรดิถี่-ยฺเหวียน เสี่ยนเต้า ฝ่ากู่ ลี่เซี่ยน ตี้เต๋อ หวังกง อิงเหวิน เลี่ยอู่ ชินเหริน เชิ่งเซี่ยว (體元顯道法古立憲帝德王功英文烈武欽仁聖孝皇帝)
  • ซีหนิง (熙寧; ค.ศ. 1068–1077)[24]
  • ยฺเหวียนเฟิง (元豐; ค.ศ. 1078–1085)[25]
ค.ศ. 1067–1085
7   เจ๋อจง (哲宗)
  • จ้าว ยง (趙傭; ค.ศ. 1077–1085)
  • จ้าว ซฺวี่ (趙煦; ค.ศ. 1085–1100)
จักรพรรดิเซี่ยน-ยฺเหวียน จี้เต้า เสี่ยนเต๋อ ติ้งกง ชินเหวิน รุ่ยอู่ ฉีเชิ่ง เจาเซี่ยว (憲元繼道顯德定功欽文睿武齊聖昭孝皇帝)
  • ยฺเหวียนโย่ว (元祐; ค.ศ. 1086–1093)[26]
  • เช่าเชิ่ง (紹聖; ค.ศ. 1094–1098)[27]
  • ยฺเหวียนฝู (元符; ค.ศ. 1098–1100)[28]
ค.ศ. 1085–1100
8   ฮุ่ยจง (徽宗) จ้าว จี๋ (趙佶) จักรพรรดิถี่เฉิน เหอเต้า จฺวินเลี่ย ซฺวิ่นกง เชิ่งเหวิน เหรินเต๋อ ฉือเซี่ยน เสี่ยนเซี่ยว (體神合道駿烈遜功聖文仁德慈憲顯孝皇帝)
  • เจี้ยนจงจิ้นกั๋ว (建中靖國; ค.ศ. 1101)[29]
  • ฉงหนิง (崇寧; ค.ศ. 1102–1106)[30]
  • ต้า-กฺวัน (大觀; ค.ศ. 1107–1110)[31]
  • เจิ้งเหอ (政和; ค.ศ. 1111–1118)[32]
  • ฉงเหอ (重和; ค.ศ. 1118)[33]
  • เซฺวียนเหอ (宣和; ค.ศ. 1119–1125)[34]
ค.ศ. 1100–1125
9   ชินจง (欽宗) จ้าว หฺวัน (趙桓) จักรพรรดิกงเหวิน ชุ่นเต๋อ เหรินเซี่ยว (恭文順德仁孝皇帝) จิ้งคัง (靖康; ค.ศ. 1126–1127)[35] ค.ศ. 1126–1127
ราชวงศ์ซ่งใต้ (ค.ศ. 1127–1279)
10 (1)   เกาจง (高宗) จ้าว โก้ว (趙構) จักรพรรดิโช่วหมิง จงซิง เฉฺวียนกง จื้อเต๋อ เชิ่งเฉิน อู่เหวิน เจาเหริน เซี่ยนเซี่ยว (受命中興全功至德聖神武文昭仁憲孝皇帝)
  • เจี้ยนหยาน (建炎; ค.ศ. 1127–1130)[36]
  • เช่าซิง (紹興; ค.ศ. 1131–1162)[37]
ค.ศ. 1127–1162
11 (2)   เซี่ยวจง (孝宗)
  • จ้าว ปั๋วฉง (趙伯琮; ค.ศ. 1127–1133)
  • จ้าว เยฺวี่ยน (趙瑗; ค.ศ. 1133–1160)
  • จ้าว เหว่ย์ (趙瑋; ค.ศ. 1160–1162)
  • จ้าว เชิ่น (趙昚; ค.ศ. 1162–1194)
จักรพรรดิเช่าถ่ง ถงเต้า กฺวันเต๋อ เจากง เจ๋อเหวิน เฉินอู่ หมิงเชิ่ง เฉิงเซี่ยว (紹統同道冠德昭功哲文神武明聖成孝皇帝)
  • หลงซิง (隆興; ค.ศ. 1163–1164)[38]
  • เฉียนเต้า (乾道; ค.ศ. 1165–1173)[39]
  • ฉุนซี (淳熙; ค.ศ. 1174–1189)[40]
ค.ศ. 1162–1189
12 (3)   กวังจง (光宗) จ้าว ตุน (趙惇) จักรพรรดิสฺวินเต้า เซี่ยนเหริน หมิงกง เม่าเต๋อ เวินเหวิน ชุ่นอู่ เชิ่งเจ๋อ ฉือเซี่ยว (循道憲仁明功茂德溫文順武聖哲慈孝皇帝) เช่าซี (紹熙; ค.ศ. 1190–1194)[41] ค.ศ. 1189–1194
13 (4)   หนิงจง (寧宗) จ้าว โค่ว (趙擴) จักรพรรดิฝ่าเทียน เป้ย์เต้า ฉุนเต๋อ เม่ากง เหรินเหวิน เจ๋ออู่ เชิ่งรุ่ย กงเซี่ยว (法天備道純德茂功仁文哲武聖睿恭孝皇帝)
  • ชิ่ง-ยฺเหวียน (慶元; ค.ศ. 1195–1200)[42]
  • เจียไท่ (嘉泰; ค.ศ. 1201–1204)[43]
  • ไคสี่ (開禧; ค.ศ. 1205–1207)[44]
  • เจียติ้ง (嘉定; ค.ศ. 1208–1224)[45]
ค.ศ. 1194–1224
14 (5)   หลี่จง (理宗)
  • จ้าว ยฺหวี-จฺวี่ (趙與莒; ค.ศ. 1205–1222)
  • จ้าว กุ้ยเฉิง (趙貴誠; ค.ศ. 1222–1224)
  • จ้าว ยฺหวิน (趙昀; ค.ศ. 1224–1264)
จักรพรรดิเจี้ยนเต้า เป้ย์เต๋อ ต้ากง ฟู่ซิง เลี่ยเหวิน เหรินอู่ เชิ่งหมิง อานเซี่ยว (建道備德大功復興烈文仁武聖明安孝皇帝)
  • เป่าชิ่ง (寶慶; ค.ศ. 1225–1227)[46]
  • เช่าติ้ง (紹定; ค.ศ. 1228–1233)[47]
  • ตฺวันผิง (端平; ค.ศ. 1234–1236)[48]
  • เจียซี (嘉熙; ค.ศ. 1237–1240)[49]
  • ฉุนโย่ว (淳祐; ค.ศ. 1241–1252)[50]
  • เป่าโย่ว (寶祐; ค.ศ. 1253–1258)[51]
  • ไคชิ่ง (開慶; ค.ศ. 1259)[52]
  • จิ่งติ้ง (景定; ค.ศ. 1260–1264)[53]
ค.ศ. 1224–1264
15 (6)   ตู้จง (度宗)
  • จ้าว เมิ่งฉี่ (趙孟啟; ค.ศ. 1240–1251)
  • จ้าว จือ (; ค.ศ. 1251–1253)
  • จ้าว ฉี (趙祺; ค.ศ. 1253–1274)
จักรพรรดิตฺวันเหวิน หมิงอู่ จิ่งเซี่ยว (端文明武景孝皇帝) เสียนฉุน (咸淳; ค.ศ. 1265–1274)[54] ค.ศ. 1264–1274
16 (7)   กง (恭) จ้าว เสี่ยน (趙顯) จักรพรรดิเซี่ยวกง อี้เชิ่ง (孝恭懿圣皇帝) เต๋อโย่ว (德祐; ค.ศ. 1275–1276)[55] ค.ศ. 1275–1276
17 (8)   ตฺวันจง (端宗) จ้าว ชื่อ (趙昰) จักรพรรดิอฺวี้เหวิน เจาอู่ หมิ่นเซี่ยว (裕文昭武愍孝皇帝) จิ่งหยาน (景炎; ค.ศ. 1276–1278)[56] ค.ศ. 1276–1278
18 (9)   จ้าว ปิ่ง (趙昺) เสียงซิ่ง (祥興; ค.ศ. 1278–1279)[57] ค.ศ. 1278–1279

อ้างอิง

แก้
  1. Bo (1977), pp. 873–876.
  2. Bo (1977), pp. 876–878.
  3. Bo (1977), pp. 878–881.
  4. Bo (1977), pp. 881–883.
  5. Bo (1977), pp. 883–885.
  6. Bo (1977), pp. 885–886.
  7. Bo (1977), pp. 886–887.
  8. Bo (1977), p. 887.
  9. Bo (1977), pp. 887–891.
  10. Bo (1977), pp. 891–892.
  11. Bo (1977), pp. 892–894.
  12. Bo (1977), pp. 894–895.
  13. Bo (1977), p. 895.
  14. Bo (1977), pp. 895–896.
  15. Bo (1977), pp. 896–897.
  16. Bo (1977), pp. 897–898.
  17. Bo (1977), p. 898.
  18. Bo (1977), pp. 898–899.
  19. Bo (1977), pp. 899–903.
  20. Bo (1977), pp. 903–904.
  21. Bo (1977), p. 905.
  22. Bo, pp. 905–907.
  23. Bo (1977), pp. 908–909.
  24. Bo (1977), pp. 909–914.
  25. Bo (1977), pp. 914–918.
  26. Bo (1977), pp. 918–921.
  27. Bo (1977), pp. 921–923.
  28. Bo (1977), pp. 923–924.
  29. Bo (1977), p. 927.
  30. Bo (1977), pp. 927–928.
  31. Bo (1977), pp. 928–929.
  32. Bo (1977), pp. 929–931.
  33. Bo (1977), p. 931.
  34. Bo (1977), pp. 932–935.
  35. Bo (1977), pp. 937–938.
  36. Bo (1977), pp. 938–942.
  37. Bo (1977), pp. 944–961.
  38. Bo (1977), pp. 961–962.
  39. Bo (1977), pp. 963–965.
  40. Bo (1977), pp. 965–969.
  41. Bo (1977), pp. 970–972.
  42. Bo (1977), pp. 972–973.
  43. Bo (1977), pp. 977–978.
  44. Bo (1977), pp. 979–981.
  45. Bo (1977), pp. 981–988.
  46. Bo (1977), pp. 989–990.
  47. Bo (1977), pp. 991–994.
  48. Bo (1977), pp. 995–996.
  49. Bo (1977), pp. 996–997.
  50. Bo (1977), pp. 998–1002.
  51. Bo (1977), pp. 1003–1004.
  52. Bo (1977), p. 1005.
  53. Bo (1977), pp. 1006–1008.
  54. Bo (1977), pp. 1008–1011.
  55. Bo (1977), pp. 1012–1013.
  56. Bo (1977), pp. 1013–1015.
  57. Bo (1977), pp. 1015–1016.

บรรณานุกรม

แก้
  • Bo Yang (1977). Timeline of Chinese History (中國歷史年表). Taipei: Sing-Kuang Book Company Ltd.