รายนามประมุขแห่งรัฐฮังการี

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

รายนามประมุขแห่งรัฐของประเทศฮังการี ตั้งแต่การปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1848จนถึงปัจจุบัน

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฮังการี
Magyarország köztársasági elnöke
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
ทามาส ซูลีออค

ตั้งแต่ 5 มีนาคม 2024
จวนSándor Palace
บูดาเปสต์, ฮังการี
ผู้แต่งตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
วาระ5 ปี
ผู้ประเดิมตำแหน่งMátyás Szűrös
สถาปนา23 ตุลาคม 1989
เว็บไซต์keh.hu

ปัจจุบันประมุขแห่งรัฐฮังการีเป็นตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ (ฮังการี: Magyarország köztársasági elnöke) ประธานาธิบดีนั้นมาจากการเลือกตั้งโดยสมาชิกของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีวาระในการดำรงตำแหน่ง 5 ปี ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฮังการี

ประธานาธิบดีคนปัจจุบันคือ คาทาลิน โนวัก เป็นผู้ได้รับเลือกคนล่าสุดโดยเริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2022

รัฐฮังการี (1849) แก้

พรรค       Opposition Party

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1   ลอโยช โคชชูต
(1802–1894)
14 เมษายน 1849 11 สิงหาคม 1849 Opposition Party ผู้ว่าการ-ประธานาธิบดี
ภายหลังนายกรัฐมนตรี
จนถึง 1 พฤษภาคม 1849
  ออร์ตูร์ เกอร์แกย์
(1818–1916)
11 สิงหาคม 1849 13 สิงหาคม 1849 กองทัพปฏิวัติ ผู้เผด็จการ
รักษาการแทนฝ่ายบริหารพลเรือนและทหาร

ภายหลังจากความล้มเหลวในการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1848 ราชอาณาจักรฮังการีได้รับการฟื้นฟูจนกลายเป็นส่วนสำคัญของจักรวรรดิออสเตรียจนถึงในปี ค.ศ. 1867 เมื่อราชาธิปไตยออสเตรีย-ฮังการีได้รับการสถาปนาขึ้น และราชอาณาจักรฮังการีได้รับการจัดตั้งเป็นดินแดนแห่งมงกุฏของนักบุญสตีเฟน

ดินแดนแห่งมงกุฏของนักบุญสตีเฟน (1867–1918) แก้

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี (1918–1919) แก้

พรรค       F48P–Károlyi

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1   มิฮาย กาโรยี
(1875–1955)
16 พฤศจิกายน 1918 11 มกราคม 1919 F48P–Károlyi ประธานาธิบดีชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐ
และนายกรัฐมนตรี
11 มกราคม 1919 21 มีนาคม 1919 ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ

สาธารณรัฐโซเวียตฮังการี (1919) แก้

พรรค       MSZP/SZKMMP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1   ซานโดร์ กอร์บอยี
(1879–1947)
21 มีนาคม 1919 1 สิงหาคม 1919 MSZP/SZKMMP ประธานสภาปกครองกลาง

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี (1919) แก้

พรรค       MSZDP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1   จูลอ ไพเดิล
(1873–1943)
1 สิงหาคม 1919 6 สิงหาคม 1919 MSZDP นายกรัฐมนตรี
รักษาการแทนประมุขแห่งรัฐ

สาธารณรัฐฮังการี (1919-1920) แก้

พรรค       KNEP       อิสระ

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1   อาร์ชดยุกโจเซฟ ออกุสตุส
(1872–1962)
7 สิงหาคม 1919 23 สิงหาคม 1919 อิสระ
(ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์)
ผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการี
  อิชต์วาน ฟรีดริช
(1883–1951)
23 สิงหาคม 1919 24 พฤศจิกายน 1919 KNP → KNEP นายกรัฐมนตรี
รักษาการแทนประมุขแห่งรัฐ
  กาโรยี ฮูสซาร์
(1882–1941)
24 พฤศจิกายน 1919 1 มีนาคม 1920 KNEP

ราชอาณาจักรฮังการี (1920–1946) แก้

      อิสระ

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
2   มิกโลช โฮร์ตี
(1868-1957)
1 มีนาคม 1920 15 ตุลาคม 1944 อิสระ ผู้สำเร็จราชการแห่งฮังการี

รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติฮังการี (1944–1945) แก้

พรรค       NYKP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1   แฟแร็นตส์ ซาลอชี
(1897-1946)
16 ตุลาคม 1944 28 มีนาคม 1945 NYKP ผู้นำแห่งชาติ
(โดยพฤตินัยแล้ว เป็นหุ่นเชิดของนาซีเยอรมนี)
และนายกรัฐมนตรี

รัฐบาลชั่วคราวภายใต้การหนุนหลังของสหภาพโซเวียต (1944–1946) แก้

พรรค       อิสระ

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
  เบลอ มิกโลช
(1890–1948)
21 ธันวาคม 1944 25 มกราคม 1945 อิสระ ประมุขแห่งรัฐ
และนายกรัฐมนตรี
ในปฏิปักษ์
  สภาสูงแห่งชาติ 26 มกราคม 1945 1 กุมภาพันธ์ 1946 ระบบพหุพรรค คณะประมุขแห่งรัฐ
ในปฏิปักษ์จนถึงวันที่ 28 มีนาคม 1945

สาธารณรัฐฮังการี (1946–1949) แก้

พรรค       FKGP       MKP-MDP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
2   โซลตาน ทิลดี
(1889–1961)
1 กุมภาพันธ์ 1946 3 สิงหาคม 1948 FKGP ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
3   อาร์ปัด ซากาชิทส์
(1888–1965)
3 สิงหาคม 1948 23 สิงหาคม 1949 MDP

สาธารณรัฐประชาชนฮังการี (1949–1989) แก้

ประธานสภาประธานาธิบดี แก้

พรรค       MDP-MSZMP       อิสระ

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง
1   อาร์ปัด ซากาชิทส์
(1888–1965)
23 สิงหาคม 1949 26 เมษายน 1950 MDP ประธานสภาประธานาธิบดี
2   ซานโดร์ โรนอยี
(1892–1965)
26 เมษายน 1950 14 สิงหาคม 1952
3   อิชต์วาน โดบี
(1898–1968)
14 สิงหาคม 1952 25 ตุลาคม 1956
(3) 25 ตุลาคม 1956 14 เมษายน 1967 MSZMP
4   ปาล โรโชนซี
(1919–2005)
14 เมษายน 1967 25 มิถุนายน 1987
5   กาโรยี เนแมต
(1922–2008)
25 มิถุนายน 1987 29 มิถุนายน 1988
6   บรูโน แฟแร็นตส์ สเตราบ์
(1914–1996)
29 มิถุนายน 1988 23 ตุลาคม 1989 อิสระ

เลขาธิการพรรคประชาชนแรงงานฮังการี / พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี แก้

พรรค       MDP-MSZMP

ลำดับที่ รูปภาพ ชื่อ วาระการดำรงตำแหน่ง พรรคการเมือง ตำแหน่ง หมายเหตุ
1   มาทยาช ราโกชี
(1892–1971)
12 มิถุนายน 1948 28 มิถุนายน 1953 MDP เลขาธิการพรรค นายกรัฐมนตรี (1952–1953)
28 มิถุนายน 1953 18 กรกฎาคม 1956 เลขาธิการอันดับหนึ่ง
2   แอร์เนอ แกเรอ
(1898–1980)
18 กรกฎาคม 1956 25 ตุลาคม 1956
3   ยาโนช กาดาร์
(1912–1989)
25 ตุลาคม 1956 30/31 ตุลาคม 1956 นายกรัฐมนตรี
(1956–1958) และ
(1961–1965)
(3) 1 พฤศจิกายน 1956 28 มีนาคม 1985 MSZMP
28 มีนาคม 1985 27 พฤษภาคม 1988 เลขาธิการพรรค
4   กาโรยี โกร์ซ
(1930–1996)
27 พฤษภาคม 1988 7 ตุลาคม 1989 นายกรัฐมนตรี (1987–1988)
5   แรเซอ แญร์ช
(1923–2018)
26 มิถุนายน 1989 7 ตุลาคม 1989 ประธานพรรค[1]

สาธารณรัฐฮังการี/ประเทศฮังการี (1989–ปัจจุบัน) แก้

พรรค       MSZMP-MSZP       SZDSZ       Fidesz       อิสระ

ลับดับที่ รูปภาพ ชื่อ เริ่มต้น สิ้นสุด พรรคการเมือง ตำแหน่ง
  มาทยาส สซูโรส
(1933–)
23 ตุลาคม 1989 2 พฤษภาคม 1990 MSZP ประธานาธิบดีชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐ
  อาร์ปัด กอนซ์
(1922–2015)
2 พฤษภาคม 1990 3 สิงหาคม 1990 SZDSZ รักษาการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
1 4 สิงหาคม 1990 4 สิงหาคม 1995 ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
4 สิงหาคม 1995 4 สิงหาคม 2000
2   เฟเรนก์ มาดล์
(1931–2011)
4 สิงหาคม 2000 5 สิงหาคม 2005 อิสระ
3   ลาสโล ซอลยม
(1942–)
5 สิงหาคม 2005 6 สิงหาคม 2010
4   พาล ชมิต
(1942–)
6 สิงหาคม 2010 2 เมษายน 2012
(ลาออก)
Fidesz
  ลาซโล เกอเวร์
(1959–)
2 เมษายน 2012 10 พฤษภาคม 2012 รักษาการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
5   ยาโนช อาแดร์
(1959–)
10 พฤษภาคม 2012 9 พฤษภาคม 2022 ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
6   คาทาลิน โนวัก
(1977–)
10 พฤษภาคม 2022 26 กุมภาพันธ์ 2024
ลาออก
  László Kövér
(1959–)
26 กุมภาพันธ์ 2024 5 มีนาคม 2024 รักษาการประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ
7   ทามาส ซูลีออค
(1956–)
5 มีนาคม 2024 ยังดำรงตำแหน่ง อิสระ ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐ

หมายเหตุ แก้

  1. ขณะที่แญร์ชดำรงตำแหน่งเลขาธิการใหญ่จนถึงวันที่ 7 ตุลาคม แญร์ชสดำรงตำแหน่งในคณะประธานทั้งสี่คนของพรรค ภายหลังการปรับโครงสร้างผู้นำพรรค และเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน เขากลายเป็นผู้นำฝ่ายบริหารโดยพฤตินัยของทั้งพรรคและประเทศหลังจากปี 1989