รางวัลปาล์มทองคำ

รางวัลปาล์มทองคำ (ฝรั่งเศส: Palme d'Or, ออกเสียง: [palm(ə) dɔʁ]) เป็นรางวัลสูงสุดในการประกวดภาพยนตร์ของเทศกาลภาพยนตร์กาน มีครั้งแรกใน ค.ศ. 1955 โดยตั้งแต่ ค.ศ. 1939 ถึง 1954 รางวัลสูงสุดใช้ชื่อว่า กรังปรีซ์ในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติ (Grand Prix du Festival International du Film)[1] และตั้งแต่ ค.ศ. 1964 ถึง 1974 ใช้ชื่อว่า กรังปรีซ์ในเทศกาล (ฝรั่งเศส: Grand Prix du Festival)[2]

รางวัลปาล์มทองคำ
ที่ตั้งกาน
ประเทศฝรั่งเศส
จัดโดยเทศกาลภาพยนตร์นานาชาติกาน
รางวัลแรกค.ศ. 1955
ผู้รับรางวัลTitane (ค.ศ. 2021)
เว็บไซต์http://www.festival-cannes.com
รางวัลปาล์มทองคำในเทศกาลภาพยนตร์กาน ค.ศ. 1979

ประวัติ

แก้

ก่อนหน้านี้จนถึง ค.ศ. 1954 คณะกรรมการของเทศกาลภาพยนตร์กานมีการมอบรางวัล "Grand Prix of the International Film Festival" ให้กับภาพยนตร์ที่ดีที่สุด โดยรางวัลจะมีการออกแบบใหม่ทุกปีโดยศิลปินร่วมสมัยในแต่ละปี จนสิ้นสุดปี 1954 คณะกรรมการบริหารเทศกาลเชิญช่างอัญมณีมาออกแบบปาล์ม เพื่ออุทิศให้กับตราอาร์มของเมืองกาน[3] แบบดั้งเดิม ออกแบบโดยลูเซียน ลาซอน และแท่นประติมากรรมออกแบบโดยศิลปินชื่อ เซบาสเตียง

ใน ค.ศ. 1955 รางวัลปาล์มทองคำครั้งแรกมองให้กับเดลเบิร์ต มานน์ให้กับผลงานภาพยนตร์เรื่อง Marty รางวัลปาล์มทองคำถือเป็นรางวัลสูงสุดของเทศกาลจนกระทั่ง ค.ศ. 1964 เมื่อเทศกาลได้นำรางวัล Grand Prix กลับมาใช้ใหม่เนื่องจากปัญหาเรื่องลิขสิทธิ์กับเรื่องปาล์ม จนกระทั่ง ค.ศ. 1975 รางวัลปาล์มทองคำกลับมาใหม่อีกครั้งและถือเป็นสัญลักษณ์ของเทศกาลภาพยนตร์กาน มีการมอบรางวัลให้กับผู้กำกับภาพยนตร์ในทุก ๆ ปี สำหรับภาพยนตร์ยาวที่เข้าร่วมประกวดอย่างเป็นทางการ

ตั้งแต่ ค.ศ. 1975 ได้มีการออกแบบตัวรางวัลใหม่หลายครั้ง เริ่มตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1980 โดยในปัจจุบัน ปาล์มทำจากทองคำ 24 กะรัต ในแม่พิมพ์ขี้ผึ้งติดเข้ากับที่รองที่เป็นคริสตัล บรรจุในกล่องหนังโมร็อกโกสีน้ำเงิน โดยการประกาศรางวัลจะประกาศเป็นรางวัลสุดท้ายของเทศกาล โดยประธานกรรมการตัดสินในแต่ละปีเป็นผู้ประกาศผลและมอบรางวัล

ผู้ได้รับรางวัล

แก้

Grand Prix du Festival International du Film (1939-1954)

แก้
ปี ภาพยนตร์ ผู้กำกับ สัญชาติของผู้กำกับ
(ณ เวลาที่ภาพยนตร์เข้าร่วม)
1939 Union Pacific [4] Cecil B. DeMille *  สหรัฐ
1946 Torment (Hets) Alf Sjöberg *  สวีเดน
The Lost Weekend Billy Wilder   สหรัฐ
The Red Meadows (De røde enge) Bodil Ipsen และ Lau Lauritzen Jr. *  เดนมาร์ก
Brief Encounter David Lean *  สหราชอาณาจักร
Portrait of Maria (María Candelaria (Xochimilco)) Emilio Fernández *  เม็กซิโก
Neecha Nagar (नीचा नगर) Chetan Anand *  อินเดีย
The Turning Point (Великий перелом, Velikiy perelom) Fridrikh Ermler *  สหภาพโซเวียต
La symphonie pastorale Jean Delannoy *  ฝรั่งเศส
The Last Chance (Die Letzte Chance) Leopold Lindtberg *  ออสเตรีย
Men Without Wings (Muži bez křídel) František Čáp *  เชโกสโลวาเกีย
Rome, Open City (Roma, città aperta) Roberto Rossellini *  อิตาลี
1947 ไม่มีการมอบรางวัล
1948 งดจัด
1949 The Third Man Carol Reed   สหราชอาณาจักร
1950 งดจัด
1951 Miss Julie (Fröken Julie) Alf Sjöberg   สวีเดน
Miracle in Milan (Miracolo a Milano) Vittorio De Sica   อิตาลี
1952 The Tragedy of Othello: The Moor of Venice Orson Welles   สหรัฐ
Two Cents Worth of Hope (Due soldi di speranza) Renato Castellani   อิตาลี
1953 The Wages of Fear (Le salaire de la peur) Henri-Georges Clouzot   ฝรั่งเศส
1954 Gate of Hell (地獄門, Jigokumon) Teinosuke Kinugasa *  ญี่ปุ่น

Palme d'Or (1955-1963)

แก้
ปี ภาพยนตร์ ผู้กำกับ สัญชาติของผู้กำกับ
(ณ เวลาที่ภาพยนตร์เข้าร่วม)
1955 Marty Delbert Mann   สหรัฐ
1956 The Silent World (Le monde du silence) Jacques-Yves Cousteau และ Louis Malle   ฝรั่งเศส
1957 Friendly Persuasion William Wyler   สหรัฐ
1958 The Cranes Are Flying (Летят журавли, Letyat zhuravli) Mikhail Kalatozov   สหภาพโซเวียต
1959 Black Orpheus (Orfeu Negro) Marcel Camus   ฝรั่งเศส
1960 La Dolce Vita Federico Fellini   อิตาลี
1961 The Long Absence (Une aussi longue absence) Henri Colpi   ฝรั่งเศส
Viridiana Luis Buñuel   เม็กซิโก
1962 O Pagador de Promessas Anselmo Duarte *  บราซิล
1963 The Leopard (Il gattopardo) Luchino Visconti   อิตาลี

Grand Prix du Festival International du Film (1964-1974)

แก้
ปี ภาพยนตร์ ผู้กำกับ สัญชาติของผู้กำกับ
(ณ เวลาที่ภาพยนตร์เข้าร่วม)
1964 The Umbrellas of Cherbourg (Les parapluies de Cherbourg) Jacques Demy   ฝรั่งเศส
1965 The Knack …and How to Get It Richard Lester   สหราชอาณาจักร
1966 A Man and a Woman (Un homme et une femme) Claude Lelouch   ฝรั่งเศส
The Birds, the Bees and the Italians (Signore e signori) Pietro Germi   อิตาลี
1967 Blow-Up Michelangelo Antonioni   อิตาลี
1968 ยกเลิกงานไป
1969 if.... Lindsay Anderson   สหราชอาณาจักร
1970 MASH Robert Altman   สหรัฐ
1971 The Go-Between Joseph Losey   สหรัฐ
1972 The Working Class Goes to Heaven (La classe operaia va in paradiso) Elio Petri   อิตาลี
The Mattei Affair (Il caso Mattei) Francesco Rosi   อิตาลี
1973 The Hireling Alan Bridges   สหราชอาณาจักร
Scarecrow Jerry Schatzberg   สหรัฐ
1974 The Conversation Francis Ford Coppola   สหรัฐ

Palme d'Or (1975-ปัจจุบัน)

แก้
ปี ภาพยนตร์ ผู้กำกับ สัญชาติของผู้กำกับ
(ณ เวลาที่ภาพยนตร์เข้าร่วม)
1975 Chronicle of the Years of Fire (Chronique des années de braise) Mohammed Lakhdar-Hamina *  แอลจีเรีย
1976 Taxi Driver Martin Scorsese   สหรัฐ
1977 Padre Padrone Paolo Taviani และ Vittorio Taviani   อิตาลี
1978 The Tree of Wooden Clogs (L'albero degli zoccoli) Ermanno Olmi   อิตาลี
1979 Apocalypse Now Francis Ford Coppola   สหรัฐ
The Tin Drum (Die Blechtrommel) Volker Schlöndorff *  เยอรมนีตะวันตก
1980 All That Jazz Bob Fosse   สหรัฐ
Kagemusha (影武者) Akira Kurosawa   ญี่ปุ่น
1981 Man of Iron (Człowiek z żelaza) Andrzej Wajda *  โปแลนด์
1982 Missing Costa-Gavras *  กรีซ
The Way (Yol) Yılmaz Güney and Şerif Gören *  ตุรกี
1983 The Ballad of Narayama (楢山節考 / Narayama bushiko) Shohei Imamura   ญี่ปุ่น
1984 Paris, Texas [unanimously] Wim Wenders   เยอรมนีตะวันตก
1985 When Father Was Away on Business (Otac na službenom putu) [unanimously] Emir Kusturica *  ยูโกสลาเวีย
1986 The Mission Roland Joffé   สหราชอาณาจักร
1987 Under the Sun of Satan (Sous le soleil de Satan) [unanimously] Maurice Pialat   ฝรั่งเศส
1988 Pelle the Conqueror (Pelle erobreren) Bille August   เดนมาร์ก
1989 Sex, Lies, and Videotape Steven Soderbergh   สหรัฐ
1990 Wild at Heart David Lynch   สหรัฐ
1991 Barton Fink [unanimously] Joel และ Ethan Coen   สหรัฐ
1992 The Best Intentions (Den goda viljan) Bille August   เดนมาร์ก
1993 Farewell My Concubine (霸王別姬 / Bàwáng bié jī) Chen Kaige *  จีน
The Piano Jane Campion *  นิวซีแลนด์
1994 Pulp Fiction Quentin Tarantino   สหรัฐ
1995 Underground (Подземље, Podzemlje) Emir Kusturica *  ยูโกสลาเวีย
1996 Secrets & Lies Mike Leigh   สหราชอาณาจักร
1997 Taste of Cherry (طعم گيلاس /Ta'm-e gīlās) Abbas Kiarostami *  อิหร่าน
The Eel (''うなぎ, Unagi) Shohei Imamura   ญี่ปุ่น
1998 Eternity and a Day (Μια αιωνιότητα και μια μέρα / Mia aioniotita kai mia mera) [unanimously] Theo Angelopoulos *  กรีซ
1999 Rosetta Luc และ Jean-Pierre Dardenne *  เบลเยียม
2000 Dancer in the Dark Lars von Trier   เดนมาร์ก
2001 The Son's Room (La stanza del figlio) Nanni Moretti   อิตาลี
2002 The Pianist Roman Polanski   โปแลนด์
2003 Elephant Gus Van Sant   สหรัฐ
2004 Fahrenheit 9/11 [unanimously] Michael Moore   สหรัฐ
2005 L'enfant (The Child) Luc และ Jean-Pierre Dardenne   เบลเยียม
2006 The Wind That Shakes the Barley Ken Loach *  ไอร์แลนด์
2007 4 Months, 3 Weeks and 2 Days (4 luni, 3 săptămâni şi 2 zile) Cristian Mungiu *  โรมาเนีย
2008 The Class (Entre les murs) [unanimously] Laurent Cantet   ฝรั่งเศส
2009 The White Ribbon (Das weiße Band) Michael Haneke   ออสเตรีย
2010 Uncle Boonmee Who Can Recall His Past Lives (ลุงบุญมีระลึกชาติ) Apichatpong Weerasethakul *  ไทย
2011 The Tree of Life Terrence Malick   สหรัฐ
2012 Amour Michael Haneke   ออสเตรีย
2013 Blue Is the Warmest Colour (La vie d'Adèle) Abdellatif Kechiche   ฝรั่งเศส
2014 Winter Sleep (Kış Uykusu) Nuri Bilge Ceylan   ตุรกี

*ประเทศที่ได้รับรางวัลครั้งแรก

อ้างอิง

แก้
  1. "Awards at Cannes Film Festival: Golden Palm". The Internet Movie Database. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-01. สืบค้นเมื่อ 2008-05-28.
  2. "Awards at Cannes Film Festival: Grand Prize of the Festival". The Internet Movie Database. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-01-01. สืบค้นเมื่อ 2008-05-28.
  3. "A Brief History of the Palme d'Or". Festival de Cannes. 2008. สืบค้นเมื่อ 2008-05-28.
  4. This particular Palme d'Or was awarded in retrospect at the 2002 festival. The festival's debut was to take place in 1939, but it was cancelled due to World War II. The organisers of the 2002 festival presented part of the original 1939 selection to a professional jury of six members. The films were: Goodbye Mr. Chips, La piste du nord, Lenin in 1918, The Four Feathers, The Wizard of Oz, Union Pacific and Boefje.