ฟุตซอลหญิงทีมชาติไทย

ฟุตซอลหญิงทีมชาติไทย เป็นตัวแทนประเทศไทยในการแข่งขันฟุตซอลระหว่างประเทศ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมโดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์[3]

ทีมชาติไทย
Shirt badge/Association crest
สมาคมสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
สมาพันธ์เอเอฟซี (เอเชีย)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนธนาธร สันทนาประสิทธิ์
กัปตันอรทัย ศรีมะณี[1]
รหัสฟีฟ่าTHA
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน6
(6 พฤษภาคม พ.ศ. 2567)[2]
ชนะสูงสุด
ประเทศไทย ไทย 17 - 0 มาเลเซีย ประเทศมาเลเซีย
(มาเก๊า; 28 ตุลาคม พ.ศ. 2550)
แพ้สูงสุด
ประเทศบราซิล บราซิล 14-0 ไทย ประเทศไทย
(สเปน; 8 ธันวาคม พ.ศ. 2553)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม1 (ครั้งแรกใน 2010)
ผลงานดีที่สุดอันดับ 7, 2010
เอเชียนอินดอร์เกมส์
เข้าร่วม5 (ครั้งแรกใน 2005)
ผลงานดีที่สุด ชนะเลิศ 2017)

ทั้งนี้หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟุตซอลหญิงทีมชาติไทยคนปัจจุบันคือ ธนาธร สันทนาประสิทธิ์

สถิติการแข่งขัน

แก้

วีเมนส์ฟุตซอลเวิลด์ทัวร์นาเมนต์

แก้
สถิติวีเมนส์ฟุตซอลเวิลด์ทัวร์นาเมนต์
ค.ศ. ตำแหน่ง อันดับ เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
  2010 รอบแบ่งกลุ่ม 9/10 3 0 1 2 4 23
  2011 ไม่ได้เข้าร่วม - - - - - - -
  2012 ไม่ได้เข้าร่วม - - - - - - -
  2013 ไม่มีการประกาศ
รวม รอบแบ่งกลุ่ม 1/3 3 0 1 2 4 23

ฟุตซอลในเอเชียนอินดอร์เกมส์

แก้
สถิติฟุตซอลในเอเชียนอินดอร์เกมส์
ค.ศ. ตำแหน่ง อันดับ เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
  2005 รองชนะเลิศ 2/4 4 2 0 2 21 15
  2007 รองชนะเลิศ 2/7 5 3 1 1 31 8
  2009 อันดับสาม 3/7 5 4 0 1 25 12
  2013 อันดับสาม[4] 3/9 6 4 0 2 22 7
  2017 ชนะเลิศ 1/7 4 4 0 0 25 3
รวม ชนะเลิศ 5/5 24 17 1 6 124 45

ฟุตซอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน

แก้
สถิติฟุตซอลหญิงชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน
ค.ศ. ตำแหน่ง อันดับ เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
  2024 รองชนะเลิศ 2/5 5 4 0 1 15 3
รวมl รองชนะเลิศ 1/1 5 4 0 1 15 3

ซีเกมส์

แก้
สถิติซีเกมส์
ค.ศ. ตำแหน่ง อันดับ เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
  2007 ชนะเลิศ 1/6 4 4 0 0 24 4
  2011 ชนะเลิศ 1/6 4 4 0 0 41 9
  2013 ชนะเลิศ[5] 1/6 5 5 0 0 21 4
  2017 ชนะเลิศ 1/5 4 3 1 0 27 5
  2021 ชนะเลิศ 1/4 3 3 0 0 10 1
รวม ชนะเลิศ 5/5 21 19 2 0 111 24

ฟุตซอลหญิงทีมชาติไทย

แก้

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้