พูดคุย:รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490

ความคิดเห็นล่าสุดเมื่อ: 1 ปีที่แล้ว โดย 203.113.0.221 ในหัวข้อ คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 19 กรกฎาคม 2565
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศไทยและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศไทย ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิการเมืองและสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับการเมือง ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประวัติศาสตร์และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประวัติศาสตร์โลก เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการศึกษาค้นคว้าที่น่าเชื่อถือสำหรับผู้อ่าน ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490 หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 โครง  บทความนี้อยู่ที่ระดับโครง ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 2 มิถุนายน 2564 แก้

แก้ไขข้อความ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเป็นผู้อยู่เบื้องหลังรัฐประหารด้วย[3] และ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชหัตถเลขาแสดงความพอพระราชหฤทัยกับเหตุการณ์หลังได้รับทูล[5] ให้นำออกไป เพราะ Ref[3] และ Ref[5] ที่นำมาอ้างอิงไม่มีความน่าเชื่อถือ โดยเป็นข้อมูลของ ณัฐพล ใจจริง ซึ่งถูกตั้งข้อสงสัยว่ามีความตั้งใจเผยแผ่เนื้อความอันเป็นเท็จ Sir.Dojo (คุย) 14:50, 8 มิถุนายน 2564 (+07)ตอบกลับ

  ไม่สำเร็จ เป็นข้อมูลของสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักร ไม่ได้กล่าวลอย ๆ หรืออ้างแหล่งข่าวนิรนาม --Horus (พูดคุย) 15:13, 8 มิถุนายน 2564 (+07)ตอบกลับ

??? ข้อมูลของสถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักร สามารถสืบค้นได้จากที่ไหนบ้าง มีหลักฐานอ้างอิงมั้ย และทราบได้อย่างไรว่าเป็นเรื่องจริง ได้รับการยอมรับในทางไหนบ้าง ในวิทยานิพนธ์ "การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ภายใต้ระเบียบโลกของสหรัฐอเมริกา" ของ ณัฐพล ใจจริง มีการกล่าวอ้างถึง "Nicholas Tarling, “Britain and the Coup 1947 in Siam,” Paper presented to International Association of Historians of Asia, Chulalongkorn University, Bangkok 20-24 May 1996, p. 3" แต่เราไม่เคยเห็นหน้าหนังสือนั้นจริงๆ หรือ เชื่อได้ว่าข้อมูลของสถานทูตนั้นถูกต้อง เพื่อเป็นการปกป้องผู้ที่ถูกกล่าวอ้างถึง ควรลบทิ้งออกไป หรือแก้เป็นข้อความใหม่ว่า สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรกล่าวหาว่า สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเป็นผู้อยู่เบื้องหลังรัฐประหารด้วย แต่ก็ไม่มีหลักฐานที่เชื่อมโยงได้ว่าการสนับสนุนนั้นเกิดขึ้นจริง --ข้อความนี้ไม่ได้ลงชื่อ ซึ่งออกความเห็นโดยผู้ใช้ Sir.Dojo (พูดคุยหน้าที่เขียน) 16:33, 16 มิถุนายน 2564‎

@Sir.Dojo: ขออธิบายให้เข้าใจกระบวนการของวิกิพีเดียนะครับ ที่นี้เน้นแหล่งอ้างอิงที่พิสูจน์ยืนยันได้ (WP:V) มากกว่าเรื่องจริง (WP:BIT) แหล่งอ้างอิงที่คุณแจ้งว่าเป็นปัญหาก็มีเผยแพร่อยู่ทั่วไป สามารถหาอ่านได้ครับ (เช่นนี้) อย่างไรก็ตาม คุณสามารถเพิ่มแหล่งข้อมูลอื่นที่ค้านกับแหล่งอ้างอิงก่อนหน้าในบทความได้ครับ --Geonuch (คุย) 17:21, 16 มิถุนายน 2564 (+07)ตอบกลับ
เรื่องว่าต้องเห็นกับตาถึงจะเอามาอ้างอิงได้ ถ้าใช้กับทุกเรื่องบนโลกนี้ ก็ไม่เป็นอันต้องเชื่อหรือต้องเรียนรู้อะไรกันแล้ว เพราะมัวแต่ตั้งข้อสงสัยกัน ไม่ไปไหนเสียที --Horus (พูดคุย) 18:10, 16 มิถุนายน 2564 (+07)ตอบกลับ
แบบนี้ใช้ได้ไหม
https://www.car.chula.ac.th/display7.php?bib=b1440595 จิตร (คุย) 11:00, 15 ตุลาคม 2564 (+07)ตอบกลับ

การกล่าวถึงในโซเชียล แก้

ชี้แจงการอ้างอิง แก้

Horus (พูดคุย · เรื่องที่เขียน) ได้ใส่แหล่งอ้างอิงไว้ตั้งแต่ปี 2563 โดยแหล่งอ้างอิงนี้สามารถหาได้ใน Issuu แต่เท่าที่ดูไม่ได้อ้างถึงหรืออาจอ้างมาลอย ๆ นอกจากนี้ในวิกิพีเดียภาษาอังกฤษไม่ได้บอกไว้ ช่วยชี้แจงหน่อยครับว่ามาจากส่วนไหน ประโยคไหน เพราะผมหาไม่เจอเลย —Nakare✝「T」 19:55, 19 กรกฎาคม 2565 (+07)ตอบกลับ

@นคเรศ: หาหน้า 64 แล้วก็ดูบรรทัดที่ 9 กับ 10 ครับ แล้วก็ไม่ควรใช้ถ้อยคำแบบข้างต้นนะครับเพราะผมเสียหาย --Horus (พูดคุย) 23:38, 19 กรกฎาคม 2565 (+07)ตอบกลับ

คำขอแก้ไขกึ่งป้องกัน เมื่อ 19 กรกฎาคม 2565 แก้

ขอตัดข้อความที่ว่า "สถานเอกอัครราชทูตสหราชอาณาจักรรายงานว่า สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีเป็นผู้อยู่เบื้องหลังรัฐประหารด้วย" เพราะเป็นแค่ข้อสันนิษฐาน ไม่ได้มีหลักฐานแน่ชัด ทำให้ผู้ที่บริสุทธิ์มีมลทิน โดยเฉพาะสถานเอกอัครราชทูตและคณะทูตไม่ได้มีหน้าที่ใดใดในสถานเกิดเหตุ ยิ่งไม่ควรให้น้ำหนักกับข้อสันนิษฐานของผู้ที่อยู่นอกเหตุการณ์เช่นนี้ 203.113.0.221 16:30, 21 กรกฎาคม 2565 (+07)ตอบกลับ

กลับไปที่หน้า "รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2490"