พูดคุย:สึนามิ
บทความนี้ถูกจัดให้เป็น อดีตบทความคัดสรร ซึ่งหมายถึงบทความที่เคยได้รับการบรรจุเป็นบทความคัดสรร (ดูเพิ่ม) แต่ได้ถูกนำมาพิจารณาใหม่อีกครั้งเนื่องจากพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์บทความคัดสรรในปัจจุบัน บทความที่ได้รับการปรับปรุงแก้ไขแล้วสามารถเสนอชื่อให้เป็นบทความคัดสรรอีกครั้ง ดูรายละเอียดการพิจารณาลดระดับบทความนี้ได้ที่ หน้านี้ (วันที่พิจารณา: ไม่ได้ระบุ กรุณาระบุตามรูปแบบ: {{เป็นบทความคัดสรรในอดีต|ใส่วันที่ dd/mm/yyyy}}) |
|
|
|
การเปิดดูหน้าเว็บประจำวันของ สึนามิ
กราฟควรแสดงอยู่ที่นี่แต่กราฟถูกปิดใช้งานชั่วคราว จนกว่ากราฟจะเปิดใช้งานอีกครั้ง ดูกราฟเชิงโต้ตอบที่ pageviews.wmcloud.org |
Feed babies
แก้I have an article HOW TO FEED BABIES IN EMERGENCIES In English and also have a WORD DOC version of it. Can someone help make it into a page? my documents are at
- English HTML
- Thai PDF - error at bottom / text in last 2 boxes accidentally chopped off during doc - pdf conversion
- Thai WORD DOC
Also these credits
Special thanks to: Jean-Pierre Allain for writing this article in English, French, Spanish. With the assistance of Annelies & Joo Kean from IBFAN/ICDC. Prof. Abhassara Charubha for providing the Thai version of this text. Craig Rayner for converting the Thai version from word doc to pdf format. Your name here.
According to 2bangkok, or the actual source Bangkok Post, in 1965 a tsunami killed about 500 people at Laem Talumphuk (แหลมตะลุมพุก), Amphoe Pak Phanang, Nakhon Si Thammarat. I am quite sure the year is wrong, it must have been the tsunami caused by the 1964 Good Friday Quake, as there was no major tsunami in 1965. Can anyone find more information on that event? If it's correct, then the section on that tsunami should incorporate that information, at least in here, and the Good Friday Earthquake article in the english wikipedia needs to have those casualties added - so far it claims only 16 people were killed by that tsunami outside Alaska. Ahoerstemeier 12:07, 11 ก.พ. 2005 (UTC)
ชื่อบทความ
แก้คลื่นสึนามิ vs สึนามิ ภาษาญี่ปุ่น นามิ = คลื่น --Manop | พูดคุย 23:00, 13 พฤศจิกายน 2005 (UTC)
- คลื่นสึนามิ เป็นศัพท์บัญญัติครับ เหตุผลที่มีทั้งคำว่า คลื่น และ นามิ เข้าใจว่าคงเป็นเพราะคงต้องการให้ผู้ไม่ทราบภาษาญี่ปุ่นเข้าใจได้ทันทีว่าหมายถึงอะไร ตอนแรกผมก็ใช้ สึนะมิ ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ฯ เหมือนกัน แต่ทราบภายหลังว่ามีการบัญญัติศัพท์ไว้แล้ว เลยแก้ให้สอดคล้องกันครับ --Phisite 09:20, 14 พฤศจิกายน 2005 (UTC)
สึนามิในประเทศไทย
แก้น่าจะมีเรื่องเกี่ยวกับเรื่องในประเทศไทยนะครับ คลื่นสึนามิในประเทศไทย -- en:Effect of the 2004 Indian Ocean earthquake on Thailand เห็นมีแต่เรื่อง แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547--Manop | พูดคุย - 08:11, 1 ธันวาคม 2005 (UTC)
บทความย้ายจากหน้าหลัก
แก้อ่านแล้วค่อนข้างงง และไม่มีหลักฐานอ้างอิงเท่าไร (หรือเป็นแค่การทำนาย) ฝากผู้รู้ช่วยตรวจสอบและเขียนเพิ่ม เข้าไปในหน้าหลักครับ--Manop | พูดคุย - 01:16, 4 ธันวาคม 2005 (UTC)
- อันตรายในอนาคต ในปี พ.ศ. 2544 นักวิทยาศาสตร์พยากรณ์ว่า การระเบิดของภูเขาไฟ Cumbre Vieja ใน La Palma (เกาะหนึ่งในหมู่เกาะแคนารี่) อาจทำให้แผ่นดินใต้ทะเลเคลื่อนตัวครั้งใหญ่ แต่การวิจัยในเวลาต่อมา แสดงว่าภัยคุกคามดังกล่าว อาจรุนแรงน้อยกว่าที่ทฤษฎีระบุไว้แต่เดิม การระเบิดของภูเขาไฟครั้งต่อไปคาดว่าจะอยู่ในช่วงครึ่งหลังของศตวรรษที่ 21 แต่ก็ไม่จำเป็นว่าการระเบิดนั้นจะทำให้แผ่นดินเกิดการเลื่อนตัวได้ทันที ในสถานการณ์ที่เลวร้ายสุด ๆ ครึ่งหนึ่งของเกาะ คือ ซีกตะวันตก (ซึ่งมีน้ำหนักประมาณ 5 แสนล้านตัน) จะเคลื่อนตัวลงสู่มหาสมุทร ซึ่งจะก่อให้เกิดหายนะอย่างใหญ่หลวงขึ้นได้ เนื่องจากการเคลื่อนตัวของแผ่นดินผืนมหึมาดังกล่าว อาจทำให้เกิดคลื่นสูงถึง 100 เมตร ซัดเข้าถล่มชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปแอฟริกาจนพังพินาศ และคลื่นสึนามิสูง 10-25 เมตร จะถาโถมเข้าสู่ชายฝั่งตะวันออกของทวีปอเมริกาเหนือ 7-8 ชั่วโมงหลังจากนั้น พร้อมทำลายสิ่งปลูกสร้างในพื้นที่บริเวณชายฝั่งจนราบ พร้อมกับชีวิตมนุษย์อีกหลายพันชีวิต พื้นที่เสี่ยงสูงจากมหันตภัยดังกล่าวคือ เมืองไมอามี ชานเมืองนิวยอร์ก พื้นที่บางส่วนของเมืองบอสตัน และเมืองที่ตั้งอยู่ตามชายฝั่งระหว่างเมืองเหล่านั้นทั้งหมด
- เหมือนเคยดูสารคดีทางโทรทัศน์น่ะครับ (อาจจะเป็นการคาดเดาเหมือนกัน) แต่เดี๋ยวจะหาข้อมูลมาเพิ่มครับ --- Jittat 07:38, 15 ธันวาคม 2005 (UTC)
ข้อผิดพลาดของบทความภาษาไทย
แก้ยังพบข้อผิดพลาดของบทความภาษาไทย อาจจะมาเนื่องจากการแปลบทความจากภาษาอังกฤษที่ไม่ถูกต้องนัก เช่น ภาพ "The Great Wave at Kanagawa" ที่บทความกล่าวว่าเป็นคลื่นสึนามิ แท้จริงแล้วไม่ใช่คลื่นสึนามิ เกิดจากความเข้าใจผิดของเจ้าของบทความหรือผู้แปล เพราะว่าที่เมือง Kanagawa ไม่เคยเกิดสึนามิ (ตอนนี้ผมแก้ไขให้แล้ว) แต่ยังมีอีกหลายๆจุดที่ยังมีข้อผิดพลาด เช่น คำว่า "คลื่นใต้น้ำ" เป็นคำไทยและสำนวนไทย ซึ่งในต่างประเทศไม่เคยมีคำนี้ แต่ในบทความนี้กลับใช้แทนคำว่า "Tidal wave" ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับคำว่า "คลื่นใต้น้ำ" ของไทย
ผมเลยอยากให้วิกิเปิดบทความนี้เป็นโครงวิทยาศาตร์ที่รอการแก้ไขต่อไป == 69 14:26, 26 มิถุนายน 2006 (UTC)
สำหรับข้อผิดพลาดต่างๆ ทุกท่านสามารถแก้ไขได้ครับ หากท่านเห็นว่ายังไม่สมบูรณ์ และมีข้อมูลที่ถูกต้อง, หรือใส่ {{โครง}} หรือ {{ช่วยดูหน่อย}} หรือ {{โปร}} หากต้องการให้ผู้เชี่ยวชาญแก้ไข --ธวัชชัย 14:39, 26 มิถุนายน 2006 (UTC)
อืมม ... แบบนี้ ปลดป้าย และเอาออกจาก วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร ได้มั๊ยครับ ? -- 172.207.29.246 14:07, 2 กรกฎาคม 2006 (UTC)
- น่าจะได้ครับ จะว่าไปแล้วยังหาบทความที่ดีจริง ๆ ในวิกิพีเดียลำบากหน่อย เพราะว่าไม่ค่อยได้ช่วยกันตรวจแก้หรือมีผู้เชี่ยวชาญเรื่องเดียวกันไม่ค่อยมาก --Pi@k 14:20, 2 กรกฎาคม 2006 (UTC)
- คือผมไม่ได้มีเจตนาจะให้ปลด วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร หรืออะไรก้อตามนะครับ โดยภาพรวมแล้ว ผมว่าบทความนั้นเป็นบทความที่ดีและมีผู้มีความตั้งใจดีช่วยเขียนและแก้ไขกัน ถึงได้มีผู้เสนอเป็น วิกิพีเดีย:บทความคัดสรร แต่ผมก้ออยากให้ผู้อ่านหรือผู้ที่จะนำไปอ้างอิงให้ระมัดระวังหรือตรวจสอบข้อมูลซักนิด ก่อนนำไปใช้จริง == 69 08:56, 3 กรกฎาคม 2006 (UTC)
ชื่อบทความอีกครั้ง
แก้เห็นข้างบนมีการอภิปรายกัน (เมื่อ 18 ปีที่แล้ว) ว่า "คลื่นสึนามิ" เป็นศัพท์บัญญัติ แต่เท่าที่ผมเสิร์ชหา ยังไม่เจอแหล่งข้อมูลไหนที่ระบุศัพท์บัญญัติเลยนะครับ ตรงกันข้าม กลับเจอแต่ "สึนามิ" จากเว็บไซต์ของราชบัณฑิต จึงคิดว่าชื่อบทความควรจะเป็น "สึนามิ" มากกว่านะครับ --Portalian (คุย) 00:07, 2 มกราคม 2567 (+07)