พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร)
มหาอำมาตย์ตรี พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย 2 สมัย
พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร) | |
---|---|
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย | |
ดำรงตำแหน่ง 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 – 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 | |
นายกรัฐมนตรี | พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) |
ก่อนหน้า | ตนเอง (ในฐานะเสนาบดี) |
ถัดไป | พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) |
เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย | |
ดำรงตำแหน่ง 29 มิถุนายน – 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 | |
กษัตริย์ | พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว |
ก่อนหน้า | สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ เจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต |
ถัดไป | ตนเอง (ในฐานะรัฐมนตรี) |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 11 มกราคม พ.ศ. 2428 |
เสียชีวิต | 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2476[1] |
ศาสนา | พุทธ |
คู่สมรส | คุณหญิงเลื่อน จ่าแสนยบดี |
บุตร | พิพิธ เศรษฐบุตร |
ครอบครัว
แก้พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร) สมรสกับคุณหญิงเลื่อน จ่าแสนยบดี มีธิดาคือพิพิธ เศรษฐบุตร สมรสกับจิ๊ด เศรษฐบุตร[2] — 19 มกราคม 2538[2]
การทำงาน
แก้พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร) ได้ดำรงตำแหน่งต่างๆ ดังนี้
- 13 กรกฎาคม 2446 – ปลัดอำเภอรอบกรุง[3]
- 31 ธันวาคม 2446 – รักษาราชการแทนปลัดเมืองนครนายก[4]
- 18 มิถุนายน 2449 – ข้าหลวงมหาดไทยมณฑลปราจิณบุรี[5]
- 2 กรกฎาคม 2450 – ยกระบัตรมณฑลปราจิณบุรี[6]
- 15 พฤษภาคม 2455 – ปลัดมณฑลปราจิณบุรี[7]
- 2457 – ยกระบัตรมณฑลปราจิณบุรี (ไม่ปรากฏหลักฐาน)
- 8 มิถุนายน 2458 – ผู้ว่าราชการเมืองฉะเชิงเทรา[8]
- 2459 – ที่ปรึกษากฎหมายกรมตำรวจพระนครบาล (ไม่ปรากฏหลักฐาน)
- 2462 – ที่ปรึกษากฎหมายกระทรวงนครบาล
- 17 พฤศจิกายน 2465 – ผู้ช่วยเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย[9]
- 27 กุมภาพันธ์ 2468 – อธิบดีกรมพลำภังค์[10]
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สมัยที่ 1 (10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 - 1 เมษายน พ.ศ. 2476)
- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย สมัยที่ 2 (1 เมษายน พ.ศ. 2476 - 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476)
ยศและบรรดาศักดิ์
แก้ยศพลเรือน
แก้ยศเสือป่า
แก้- 28 กันยายน 2454 – นายหมู่ตรี[13]
- – นายหมู่โท
- 6 ธันวาคม 2455 – นายหมู่เอก[14]
- 29 กันยายน 2458 – นายหมู่ใหญ่[15]
- 9 กันยายน 2459 – นายหมวดโท[16]
บรรดาศักดิ์
แก้- 13 กรกฎาคม 2446 – รับประทวนบรรดาศักดิ์เป็น ขุนประสาทนรกิจ ถือศักดินา 600[3]
- 11 ตุลาคม 2447 – หลวงอร่ามรณชิต ปลัดเมืองนครนายก ถือศักดินา 1000[17]
- 10 ตุลาคม 2448 – หลวงบุพราษฎร์อำรุง ปลัดเมืองปราจิณบุรี คงถือศักดินา 1000[18]
- 17 พฤษภาคม 2454 – พระสุนทรพิพิธ ถือศักดินา 1600[19]
- 9 กันยายน 2458 – พระยาสุนทรพิพิธ ถือศักดินา 3000[20]
- 9 ตุลาคม 2459 – เข้าเฝ้ารับพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์ที่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย[21]
- 20 ธันวาคม 2462 – พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมือง คงถือศักดินา 3000[22]
- 2465 – พระยาศรีสหเทพ
- 1 มกราคม 2465 – เข้าเฝ้ารับพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์[23]
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้พระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร) ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งสยามและต่างประเทศ ดังนี้
เครื่องราชอิสริยาภรณ์สยาม
แก้- พ.ศ. 2473 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นที่ 1 ประถมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.)[24]
- พ.ศ. 2471 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นที่ 2 ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก (ท.ช.)[25]
- พ.ศ. 2465 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายหน้า)[26]
- พ.ศ. 2470 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[27]
- พ.ศ. 2468 – เหรียญศารทูลมาลา (ร.ศ.ท.)[28]
- พ.ศ. 2471 – เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 7 ชั้นที่ 4 (ป.ป.ร.4)[29]
- พ.ศ. 2446 – เหรียญทวีธาภิเศก (ท.ศ.)
- พ.ศ. 2450 – เหรียญรัชมงคล (ร.ร.ม.)
- พ.ศ. 2451 – เหรียญรัชมังคลาภิเศก รัชกาลที่ 5 (ร.ม.ศ.5)
- พ.ศ. 2454 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6 (ร.ร.ศ.6)
- พ.ศ. 2468 – เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 7 (ร.ร.ศ.7)
- พ.ศ. 2475 – เหรียญเฉลิมพระนคร 150 ปี (ร.ฉ.พ.)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
แก้- ฝรั่งเศส :
- พ.ศ. 2472 – เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ ชั้นที่ 3[30]
อ้างอิง
แก้- ↑ หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพพระยาจ่าแสนยบดีศรีบริบาล (ชิต สุนทรวร). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โสภณพิพรรณธนากร, พิมพ์ครั้งที่ 1;พ.ศ. 2476, 285 หน้า
- ↑ 2.0 2.1 จิ๊ด เศรษฐบุตร (กรกฎาคม 2554). ดาราพร ถิระวัฒน์ (บ.ก.). หลักกฎหมายแพ่งลักษณะหนี้. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. p. 6. ISBN 9789744665577.
- ↑ 3.0 3.1 "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ทำประทวนตั้งข้าราชการมณฑลราชบุรี มณฑลกรุง รวม 5 นาย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 19 กรกฎาคม 1903.
- ↑ "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ให้ขุนประสาทนรกิจเป็นผู้รั้งตำแหน่งปลัดเมืองนครนายก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 10 มกราคม 1903.
- ↑ "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 24 มิถุนายน 1906.
- ↑ "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 7 กรกฎาคม 1907.
- ↑ "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนและย้ายตำแหน่งหน้าที่ราชการหัวเมืองมณฑลต่าง ๆ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 19 พฤษภาคม 1912.
- ↑ "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เลื่อนและย้ายตำแหน่งหน้าที่ราชการ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 13 มิถุนายน 1915.
- ↑ "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและย้ายตำแหน่งหน้าที่ราชการ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 26 พฤศจิกายน 1923.
- ↑ "แจ้งความกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งอธิบดีกรมพลำภังค์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 7 มีนาคม 1925.
- ↑ "ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศพระราชทานยศ แก่ข้าราชการกระทรวงมหาดไทย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา: 976. 20 สิงหาคม 1911.
- ↑ "พระราชทานยศ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา: 2755. 30 ธันวาคม 1917.
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรกองเสือป่า
- ↑ พระราชทานสัญญาบัตรเสือป่า
- ↑ พระราชทานยศเสือป่า
- ↑ พระราชทานยศเสือป่า
- ↑ "พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 16 ตุลาคม 1904.
- ↑ "พระราชทานสัญญาบัตรขุนนาง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 15 ตุลาคม 1905.
- ↑ "ตั้งตำแหน่งยศขุนนาง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา: 294. 21 พฤษภาคม 1911.
- ↑ "พระราชทานตั้งและเลื่อนบรรดาศักดิ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 12 กันยายน 1915.
- ↑ "รายวันพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 15 ตุลาคม 1916.
- ↑ "พระราชทานบรรดาศักดิ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 11 มกราคม 1919.
- ↑ "รายวันพระราชทานสัญญาบัตรบรรดาศักดิ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา: 3428. 25 กุมภาพันธ์ 1922.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญ, เล่ม ๔๗ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๐๓๐, ๙ พฤศจิกายน ๒๔๗๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๔๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๔๐๖, ๑๘ พฤศจิกายน ๒๔๗๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จุลจอมเกล้าฝ่ายหน้า, เล่ม ๓๙ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๓๔๗, ๒๖ พฤศจิกายน ๒๔๖๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๔๔ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๖๒๕, ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ส่งเครื่องราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน, เล่ม ๔๓ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๖๕, ๒ พฤษภาคม ๒๔๖๙
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๔๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๔๑๐, ๑๘ พฤศจิกายน ๒๔๗๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๔๖ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๘๑๒, ๑๖ มิถุนายน ๒๔๗๒