นักวิทยาศาสตร์
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
นักวิทยาศาสตร์ คือบุคคลผู้ดำเนินงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพือความก้าวหน้าทางความรู้ในสาขาวิชาที่ไม่น่าสนใจ [1] [2]
แมรี ซอเมอร์วิลล์ เป็นคนแรกที่ถูกเรียกว่า "นักวิทยาศาสตร์" (scientist) | |
อาชีพ | |
---|---|
ชื่อ | Scientist |
ประเภทอาชีพ | Profession |
กลุ่มงาน | Laboratory, field research |
รายละเอียด | |
ความสามารถ | Scientific research |
การศึกษา | Science |
สถานที่ ปฏิบัติงาน | Academia, industry, government, nonprofit |
อาชีพที่เกี่ยวข้อง | Engineers |
ในสมัยคลาสสิกไม่มีคนยุคโบราณที่เป็นเหมือนนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ยุคนั้นคือนักปราชญ์ที่ทำงานในด้านการศึกษาปรัชญาของธรรมชาติที่เรียกว่าปรัชญาธรรมชาติซึ่งเป็นที่มาของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ[3] คำว่านักวิทยาศาสตร์ยังไม่มีจนกระทั่งศตวรรษที่ 19 ที่คำว่านักวิทยาศาสตร์ถูกนำมาใช้เป็นปกติหลังที่ถูกบัญญัติคำศัพท์โดยนักศาสนศาสตร์ นักปรัชญา และนักประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ที่ชื่อ วิลเลียม วีเวลล์ ในปี พ.ศ. 2567[4][5]
ในยุคปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ได้รับปริญญา[6]ในสาขาทางวิทยาศาสตร์และทำงานที่มีสายอาชีพในภาคส่วนต่างๆ ทางเศรษฐกิจ เช่น สถาบันการศึกษา อุตสาหกรรม รัฐบาล และองค์กรไม่แสวงหากำไร[7][8][9]
นักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ
แก้ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ที่ถือกันว่าเป็น "นักวิทยาศาสตร์" มีดังนี้
- นักโบราณคดี
- นักดาราศาสตร์
- นักชีววิทยา
- นักเคมี
- นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
- นักรุกขวิทยา (Dendrologist)
- นักนิเวศวิทยา (นักอุทกวิทยา นักชลธารวิทยา)
- นักธรณีวิทยา นักวิทยาแผ่นดินไหว นักวิทยาแร่
- นักจลนสรีรศาสตร์
- นักคณิตศาสตร์
- นักฟิสิกส์
- นักอุตุนิยมวิทยา (Meteorologist)
- นักวิทยากระแส (Rheologist)
- นักพิษวิทยา
- นักสิ่งแวดล้อม
- นักจิตวิทยา
- นักวิทยาศาสตร์การทหาร
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "Eusocial climbers เก็บถาวร 2019-04-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน" (PDF). E.O. Wilson Foundation. Retrieved 3 September 2018.
But he’s not a scientist, he’s never done scientific research. My definition of a scientist is that you can complete the following sentence: ‘he or she has shown that...’,” Wilson says.
- ↑ "Our definition of a scientist". Science Council. Retrieved 7 September 2018.
A scientist is someone who systematically gathers and uses research and evidence, making a hypothesis and testing it, to gain and share understanding and knowledge.
- ↑ Lehoux, Daryn (2011). "2. Natural Knowledge in the Classical World". In Shank, Michael; Numbers, Ronald; Harrison, Peter (eds.). Wrestling with Nature : From Omens to Science. Chicago: University of Chicago , U.S.A. Press. p. 39. ISBN 978-0226317830.
- ↑ Cahan, David, ed. (2003). From Natural Philosophy to the Sciences: Writing the History of Nineteenth-Century Science. Chicago, Illinois: University of Chicago Press. ISBN 0-226-08928-2.
- ↑ Lightman, Bernard (2011). "Science and the Public". In Shank, Michael; Numbers, Ronald; Harrison, Peter (eds.). Wrestling with Nature : From Omens to Science. Chicago: University of Chicago Press. p. 367. ISBN 978-0226317830.
- ↑ Cyranoski, David; Gilbert, Natasha; Ledford, Heidi; Nayar, Anjali; Yahia, Mohammed (2011). "Education: The PhD factory". Nature. 472(7343): 276–279. Bibcode:2011Natur.472..276C. doi:10.1038/472276a. PMID 21512548.
- ↑ Kwok, Roberta (2017). "Flexible working: Science in the gig economy". Nature. 550: 419–421. doi:10.1038/nj7677-549a.
- ↑ Woolston, Chris (2007). Editorial (ed.). "Many junior scientists need to take a hard look at their job prospects". Nature. 550: 549–552. doi:10.1038/nj7677-549a.
- ↑ Lee, Adrian; Dennis, Carina; Campbell, Phillip (2007). "Graduate survey: A love–hurt relationship". Nature. 550 (7677): 549–552. doi:10.1038/nj7677-549a.