ตำบลอิสาณ

ตำบลในอำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ประเทศไทย

อิสาณ เป็นตำบลในเขตเทศบาลนครบุรีรัมย์

ตำบลอิสาณ
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันTambon Isan
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 218 ในเขตตำบลอิสาณ ฝั่งขาออกจากตัวเมืองบุรีรัมย์
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 218 ในเขตตำบลอิสาณ ฝั่งขาออกจากตัวเมืองบุรีรัมย์
ประเทศไทย
จังหวัดบุรีรัมย์
อำเภอเมืองบุรีรัมย์
พื้นที่
 • ทั้งหมด36.899 ตร.กม. (14.247 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2563)[1]
 • ทั้งหมด21,116 คน
 • ความหนาแน่น572.26 คน/ตร.กม. (1,482.1 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 31000
รหัสภูมิศาสตร์310102
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย
เทศบาลนครบุรีรัมย์
จากซ้ายไปขวา บนลงล่าง:
คำขวัญ: 
คูเมืองโบราณ ตำนานเล่าขาน อาหารเลิศรส งามงดประเพณี คนดีมีน้ำใจ
ทน.บุรีรัมย์ตั้งอยู่ในจังหวัดบุรีรัมย์
ทน.บุรีรัมย์
ทน.บุรีรัมย์
ที่ตั้งของเทศบาลนครบุรีรัมย์
ทน.บุรีรัมย์ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทน.บุรีรัมย์
ทน.บุรีรัมย์
ทน.บุรีรัมย์ (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
ทน.บุรีรัมย์ตั้งอยู่ในประเทศไทย
ทน.บุรีรัมย์
ทน.บุรีรัมย์
ทน.บุรีรัมย์ (ประเทศไทย)
พิกัด: 14°59′39″N 103°06′08″E / 14.99417°N 103.10222°E / 14.99417; 103.10222
ประเทศ ไทย
จังหวัดบุรีรัมย์
อำเภอเมืองบุรีรัมย์
จัดตั้งพ.ศ. 2567 (เทศบาลนคร)
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีวิกรม สมจิตต์อารีย์
พื้นที่
 • ทั้งหมด75.44 ตร.กม. (29.13 ตร.ไมล์)
ความสูง163 เมตร (535 ฟุต)
ประชากร
 (2564)[2]
 • ทั้งหมด71,974 คน
 • ความหนาแน่น674.15 คน/ตร.กม. (1,746.0 คน/ตร.ไมล์)
รหัส อปท.04310102
สนามบินIATA: BFV – ICAO: VTUO
ท่าอากาศยานบุรีรัมย์
ทางหลวง
ที่อยู่
สำนักงาน
ถนนรมย์บุรี ตำบลในเมือง อำเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ 31000
เว็บไซต์www.buriramcity.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

ภูมิศาสตร์

แก้

ตำบลอิสาณมีอาณาเขตติดต่อดังนี้

ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป ตำบลอิสาณมีลักษณะพื้นที่ราบสูงโดยอยู่สูงกว่าระดับน้ำทะเลประมาณ 150–180 เมตร พื้นที่โดยทั่วไปใช้ประโยชน์ทางเกษตรกรรม สมรรถนะดินตำบลอิสาณ เกิดจากตะกอนเก่าลำน้ำ เป็นดินลึก มีการระบายน้ำผ่านได้เร็วถึงปานกลาง เนื้อดินเป็นดินร่วนปนทราย ดินร่วน หรือดินเหนียวปนทราย เหมาะสมสำหรับการทำนาและปศุสัตว์

แม่น้ำที่สำคัญ ได้แก่

  • ลำห้วยชุมเห็ด ไหลผ่นทางทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก โดยไหลผ่านหมู่ที่ 5, 9, 11
  • ลำห้วยจระเข้มาก ไหลผ่านทางทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก โดยไหลผ่านหมู่ที่ 1, 3, 7, 14, 9, 15

การแบ่งเขตการปกครอง

แก้

ตำบลอิสาณแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 18 ชุมชน คือ

  • ชุมชนโคกวัด
  • ชุมชนโคกใหญ่
  • ชุมชนโคกหัวช้าง
  • ชุมชนไทยเจริญ
  • ชุมชนหนองโพรง
  • ชุมชนโคกสะอาด
  • ชุมชนห้วย
  • ชุมชนหนองแปบ
  • ชุมชนยาง
  • ชุมชนหัวลิง
  • ชุมชนศรีสุข
  • ชุมชนไผ่น้อย
  • ชุมชนโคกขุนสมาน
  • ชุมชนสวนครัว
  • ชุมชนศิลาชัย
  • ชุมชนโคกมะกอก
  • ชุมชนหินลาด
  • ชุมชนทรัพย์สมบูรณ์

สถานศึกษา

แก้

โรงเรียนประถมศึกษา 5 แห่ง ได้แก่

  • โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ์
  • โรงเรียนบ้านโคกสะอาดวิทยาคาร
  • โรงเรียนบ้านโคกวัด
  • โรงเรียนคงชัยสิทธิ์วิทยา
  • โรงเรียนประกาศธรรมคุณวิทยา

โรงเรียนอาชีวศึกษา 2 แห่ง ได้แก่

อ้างอิง

แก้
  1. "รายงานสถิติจำนวนประชากรและบ้าน ประจำปี พ.ศ. 2563 ตำบลอิสาณ". ระบบสถิติทางการทะเบียน กรมการปกครอง.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ stat

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้