จังหวัดอ่างทองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2539 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 2 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2538 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 2 คน[1]

จังหวัดอ่างทองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2539

← พ.ศ. 2538 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2544 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน131,398
ผู้ใช้สิทธิ65.38%
  First party Second party
 
ผู้นำ บรรหาร ศิลปอาชา สมัคร สุนทรเวช
พรรค ชาติไทย ประชากรไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

บรรหาร ศิลปอาชา
ชาติไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชวลิต ยงใจยุทธ
ความหวังใหม่

ภาพรวม แก้

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต แก้

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1 แก้

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยจังหวัดอ่างทองทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอ่างทอง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (2)* 107,075 85.06
ชาติไทย พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ (1)* 100,306 76.33
ประชาธิปัตย์ สมชาย สุเมฆะกุล (3) 20,671 16.42
ประชาธิปัตย์ สมประสงค์ เปาอินทร์ (4) 8,237 6.54
บัตรดี 125,877 95.79
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,205 1.67
บัตรเสีย 3,316 2.52
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 131,398 65.38
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 200,977 100.00
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ประชากรไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. "จากเว็บไซต์รายงานผลการเลือกตั้งกรมการปกครอง". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2004-09-28. สืบค้นเมื่อ 2024-04-21.