สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง
จังหวัดอ่างทอง มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 2 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | |
---|---|
จังหวัดอ่างทอง | |
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน | |
จำนวนเขต | 2 |
คะแนนเสียง | 92,667 (ภูมิใจไทย) |
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน | |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2476 |
ที่นั่ง | ภูมิใจไทย (2) |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร | ดูในบทความ |
ประวัติศาสตร์
แก้หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดอ่างทองมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ นายเกริ่น แสนโกศิก
- นักการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากครั้งที่สุด คือ 9 สมัย ได้แก่ นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสตรีคนแรกของจังหวัดอ่างทอง คือ นางสาวเพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ชัย (จากการเลือกตั้ง พ.ศ. 2548)
- ตระกูลการเมืองที่ได้รับเลือกตั้งมากที่สุด คือ
- ปริศนานันทกุล (4 คน) ได้แก่ นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล นายภราดร ปริศนานันทกุล นายภคิน ปริศนานันทกุล และนายกรวีร์ ปริศนานันทกุล
เขตเลือกตั้ง
แก้การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้ง | แผนที่ | จำนวน ส.ส. |
พ.ศ. 2476 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2480 | |||
พ.ศ. 2481 | |||
พ.ศ. 2489 | |||
พ.ศ. 2491 | |||
พ.ศ. 2492 | |||
พ.ศ. 2495 | |||
พ.ศ. 2500/1 | |||
พ.ศ. 2500/2 | |||
พ.ศ. 2512 | |||
พ.ศ. 2518 | 2 คน (เขตละ 2 คน) | ||
พ.ศ. 2519 | |||
พ.ศ. 2522 | |||
พ.ศ. 2526 | |||
พ.ศ. 2529 | |||
พ.ศ. 2531 | |||
พ.ศ. 2535/1 | |||
พ.ศ. 2535/2 | |||
พ.ศ. 2538 | |||
พ.ศ. 2539 | |||
พ.ศ. 2544 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอ่างทอง, อำเภอป่าโมก และอำเภอวิเศษชัยชาญ (ยกเว้นตำบลม่วงเตี้ย) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอไชโย, อำเภอโพธิ์ทอง, อำเภอแสวงหา, อำเภอสามโก้ และอำเภอวิเศษชัยชาญ (เฉพาะตำบลม่วงเตี้ย) |
2 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2548 | |||
พ.ศ. 2549 | |||
พ.ศ. 2550 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 2 คน (เขตละ 2 คน) | |
พ.ศ. 2554 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอ่างทอง, อำเภอป่าโมก และอำเภอวิเศษชัยชาญ (ยกเว้นตำบลม่วงเตี้ย) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอไชโย, อำเภอโพธิ์ทอง, อำเภอแสวงหา, อำเภอสามโก้ และอำเภอวิเศษชัยชาญ (เฉพาะตำบลม่วงเตี้ย) |
2 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2557 | |||
พ.ศ. 2562 | เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด | 1 คน (เขตละ 1 คน) | |
พ.ศ. 2566 | · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองอ่างทอง, อำเภอป่าโมก และอำเภอวิเศษชัยชาญ (ยกเว้นตำบลม่วงเตี้ยและตำบลสาวร้องไห้) · เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอไชโย, อำเภอโพธิ์ทอง, อำเภอแสวงหา, อำเภอสามโก้ และอำเภอวิเศษชัยชาญ (เฉพาะตำบลม่วงเตี้ยและตำบลสาวร้องไห้) |
2 คน (เขตละ 1 คน) |
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต
แก้ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 1 | พ.ศ. 2476 | นายเกริ่น แสนโกศิก |
ชุดที่ 2 | พ.ศ. 2480 | นายบุญศรี จันทนชาติ |
ชุดที่ 3 | พ.ศ. 2481 | |
ชุดที่ 4 | มกราคม พ.ศ. 2489 | นายวิรัตต์ ศุขะพันธุ์ |
สิงหาคม พ.ศ. 2489 | นายชึ้น อยู่ถาวร (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 5 | พ.ศ. 2491 | หลวงอังคณานุรักษ์ (สมถวิล เทพาคำ) |
พ.ศ. 2492 | – (เลือกตั้งเพิ่มเติม) | |
ชุดที่ 7 | พ.ศ. 2495 | พลตรี หลวงวิสิษฐยุทธศาสตร์ |
ชุดที่ 8–10; พ.ศ. 2500–2512
แก้- พรรคเสรีมนังคศิลา
- พรรคสหประชาไทย
- ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 |
ชุดที่ 8 | กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | พลตรี หลวงวิสิษฐยุทธศาสตร์ |
ชุดที่ 9 | ธันวาคม พ.ศ. 2500 | นายวิรัตน์ ศุขะพันธ์ |
ชุดที่ 10 | พ.ศ. 2512 | นายวิรัตน์ ศุขะพันธ์ |
ชุดที่ 11–20; พ.ศ. 2518–2539
แก้- พรรคเกษตรสังคม
- พรรคธรรมสังคม
- พรรคกิจสังคม
- พรรคประชาธิปัตย์
- พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
- พรรคชาติไทย
- พรรคประชากรไทย
ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | |
ชุดที่ 11 | พ.ศ. 2518 | นายบุญส่ง ภู่พานิช | นายอรุณ เอี่ยมเอก |
ชุดที่ 12 | พ.ศ. 2519 | นายหิรัญ ช่วงฉ่ำ | นายสุรชัย บุญแสง |
ชุดที่ 13 | พ.ศ. 2522 | นายชวลิต วิเศษสิทธิกุล | นายเสน่ห์ ไชยรัตนะ |
ชุดที่ 14 | พ.ศ. 2526 | นายชวลิต วิเศษสิทธิกุล | นายกมล เสมอเหมือน |
ชุดที่ 15 | พ.ศ. 2529 | นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล | นายนิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ |
ชุดที่ 16 | พ.ศ. 2531 | ||
ชุดที่ 17 | มีนาคม พ.ศ. 2535 | ||
ชุดที่ 18 | กันยายน พ.ศ. 2535 | ||
ชุดที่ 19 | พ.ศ. 2538 | พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ | |
ชุดที่ 20 | พ.ศ. 2539 | พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ |
ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548
แก้เขต | ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 | ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548 |
1 | พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ | นางสาวเพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ชัย |
2 | นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล |
ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550
แก้เขต | ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550 | |
1 | นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล (ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี) |
นายภคิน ปริศนานันทกุล (แทนนายสมศักดิ์) |
นายภราดร ปริศนานันทกุล |
ชุดที่ 24-26; พ.ศ. 2554-2566
แก้ชุดที่ | การเลือกตั้ง | เขตเลือกตั้งที่ 1 | เขตเลือกตั้งที่ 2 |
ชุดที่ 24 | พ.ศ. 2554 | นายภราดร ปริศนานันทกุล | นายกรวีร์ ปริศนานันทกุล |
ชุดที่ 25 | พ.ศ. 2562 | นายภราดร ปริศนานันทกุล | ยุบเขต 2 |
ชุดที่ 26 | พ.ศ. 2566 | นายกรวีร์ ปริศนานันทกุล |
รูปภาพ
แก้-
พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
-
นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล
-
นายภารดร ปริศนานันทกุล
อ้างอิง
แก้- ↑ "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 21 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ทำเนียบสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ 22 เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ 23 เก็บถาวร 2010-03-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด สำหรับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๔
- ผู้จัดการออนไลน์ กกต.แบ่งเขตเลือกตั้ง ส.ส.ครบ 77 จังหวัด 375 เขต แล้ว!! เก็บถาวร 2017-03-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- กรรมการการเลือกตั้งจังหวัดอ่างทอง เก็บถาวร 2011-08-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน