กองทัพสโลวาเกีย
กองทัพสาธารณรัฐสโลวาเกีย (สโลวัก: Ozbrojené sily Slovenskej Republiky) เป็นกองกำลังของสโลวาเกีย ประกอบไปด้วย กองทัพบก กองทัพอากาศ และ หน่วยสนับสนุน. กำลังพลทั้งหมด 15,996 นาย และ พลเรือน 3,761 นาย.[12][13] ตั้งแต่ ค.ศ. 1940 - 1989, กองทัพประชาชนเชโกสโลวัก (มีกำลังพลประจำการ 200,000 นาย) เป็นกองกำลังส่วนหนึ่งของกลุ่มกติกาสัญญาวอร์ซอ. ภายหลังการแยกประเทศในปี ค.ศ. 1992 ได้มีการจัดระเบียบส่วนราชการกองทัพให้สอดคล้องสถานการณ์ปัจจุบัน ต่อมาสโลวาเกียได้เข้าร่วมสมาชิกขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 2004.[14] ตั้งแต่ ค.ศ. 2006 กองทัพสโลวักได้ยกเลิกระบบการเกณฑ์ทหาร โดยเปลี่ยนไปใช้ระบบพลอาสาสมัคร.[15][16][17]
กองทัพสาธารณรัฐสโลวาเกีย | |
---|---|
Ozbrojené sily Slovenskej Republiky | |
ตราราชการกองทัพ | |
ก่อตั้ง | 1 มกราคม 1993 |
เหล่า | กองทัพบกสโลวาเกีย กองทัพอากาศสโลวาเกีย |
กองบัญชาการ | บราติสลาวา, สโลวาเกีย |
ผู้บังคับบัญชา | |
ประธานาธิบดี | Andrej Kiska |
รัฐมนตรีกลาโหม | Peter Gajdoš |
เสนาธิการกองทัพ | พลเอก มิลาน แมกซิม |
กำลังพล | |
อายุเริ่มบรรจุ | 18 ปี |
การเกณฑ์ | พลอาสาสมัคร (ตั้งแต่ พ.ศ. 2549) |
ประชากร วัยบรรจุ | 1,413,079, อายุ 15–49 |
ประชากร ฉกรรจ์ | 1,162,282, อายุ 15–49 |
ประชากรวัยถึงขั้น ประจำการทุกปี | ca. 20,000 |
ยอดประจำการ | 17,000 active soldiers[1] and 4,800 civilians (2016)[2][3][4] |
รายจ่าย | |
งบประมาณ | €1,082 billion (2018), include €339 million for military weapons[5][6][7][8][9][10] |
ร้อยละต่อจีดีพี | 1.22 % (2018) |
อุตสาหกรรม | |
แหล่งผลิตนอกประเทศ | สหรัฐ[11] อิสราเอล อิตาลี เยอรมนี เช็กเกีย ญี่ปุ่น |
บทความที่เกี่ยวข้อง | |
ประวัติ | ประวัติศาสตร์ทางทหารของสโลวาเกีย |
ยศ | ยศทหาร เครื่องอิสริยาภรณ์ |
ประวัติ
แก้โครงสร้าง
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภารกิจ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้เชิงอรรถ
แก้- ↑ "V armáde SR bude pôsobiť viac vojakov, bude mať aj viac húfnic či BVP". Dnesky.sk. 10 August 2017. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
- ↑ Evolution, Heureka (11 September 2016). "V armáde má pôsobiť viac vojakov aj civilných zamestnancov - Hlavné správy". hlavnespravy.sk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-02-15. สืบค้นเมื่อ 19 March 2017.
- ↑ "Defence Data". Eda.europa.eu. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
- ↑ "National Defence Data 2012 of the EDA participating Member States" (PDF). Eda.europa.eu. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2018-03-03.
- ↑ "NATO Defence Expenditure: 2009 - 2013" 14 August 2014
- ↑ ""Slovak Military Budget 2014"" (PDF). Mod.gov.sk. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
- ↑ ""Slovak Military Budget 2013"" (PDF). Mosr.sk. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
- ↑ "Rezort obrany vyčerpal vlani z rozpočtu 725,6 milióna eur". Topky.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
- ↑ P E R E X , a. s. "Rozpočet armády sa zvyšovať nebude, tvrdí Fico". Pravda.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
- ↑ "Work, Slovakian Defense Minister Review Bilateral Relationship". Defense.gov. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
- ↑ "Slovenská armáda v číslach: 475 vojakov nebolo na testoch fyzickej spôsobilosti!". Cas.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
- ↑ "Vojakov je menej. Za desať rokov klesol ich počet o 8000". Aktuality.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
- ↑ "NATO Update: Seven new members join NATO - 29 March 2004". Nato.int. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.
- ↑ "kniha o obrane SR 2013"" (PDF). Lt.justice.gov.sk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจาก"Biela แหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-10-04. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
- ↑ "Financial and Economic Data Relating to NATO Defence" (PDF). Nato.int. สืบค้นเมื่อ 15 December 2017.
- ↑ "Slovenská armáda je v kritickom stave, má to fatálne následky". Komentare.sme.sk. สืบค้นเมื่อ 24 December 2014.