กรุงเทพดุสิตเวชการ
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในการบริหารเครือข่ายโรงพยาบาลเอกชน
บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ จัดลิงก์ภายใน และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด(มหาชน) (อังกฤษ: BANGKOK DUSIT MEDICAL SERVICES PUBLIC COMPANY LIMITED ชื่อย่อ:BDMS) [2] จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2512 ในนาม “บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด” โดยเริ่มเปิดดำเนินงาน “โรงพยาบาลกรุงเทพ” เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2515 และนำหุ้นเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2534 ต่อมาบริษัทฯ จดทะเบียนแปลงสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ณ กรมการพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เมื่อวันที่ 3 มกราคม 2537 ใช้ชื่อว่า “บริษัท กรุงเทพดุสิตเวชการ จำกัด (มหาชน)” ทะเบียนเลขที่ บมจ.249 ปัจจุบันทะเบียนเลขที่ 0107537000025
ประเภท | การแพทย์และการสาธารณสุข |
---|---|
อุตสาหกรรม | บริการด้านการแพทย์เพื่อสุขภาพและสาธารณสุข |
รูปแบบ | บริษัทมหาชนจำกัด บริษัทเอกชน SET:BDMS |
ก่อตั้ง | 30 ตุลาคม 2512 |
ผู้ก่อตั้ง | นพ.ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ |
สำนักงานใหญ่ | เลขที่ 2 ซอยศูนย์วิจัย 7 ถนนเพชรบุรี แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร[1], ประเทศไทยและต่างประเทศ |
พื้นที่ให้บริการ | ทั่วประเทศและต่างประเทศ |
บุคลากรหลัก | ศาตราจารย์เกียรติคุณ ดร. นายแพทย์ สันต์ศิริ ศรมณี (ประธานกรรมการบริษัท) แพทย์หญิง ปรมาภรณ์ ปราสาททองโอสถ (ประธานกรรมการบริหาร) นายแพทย์ จุลเดช ยศสุนทรากุล (รองประธานกรรมการ) ชวลิต เศรษฐเมธีกุล (ประธานกรรมการตรวจสอบ) |
เจ้าของ | บริษัท ปราสาททองโอสถ จำกัด |
เว็บไซต์ | http://www.bdms.co.th/ |
ธุรกิจในเครือบริษัท
แก้กลุ่มโรงพยาบาลกรุงเทพ
แก้- โรงพยาบาลกรุงเทพ (ซอยศูนย์วิจัย) 373 เตียง
- โรงพยาบาลหัวใจกรุงเทพ 97 เตียง
- โรงพยาบาลวัฒโนสถ 48 เตียง
- โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา 400 เตียง (ถือหุ้น 97.27%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพระยอง 220 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพตราด 114 เตียง (ถือหุ้น 99.76%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพหัวหิน 64 เตียง
- โรงพยาบาลกรุงเทพราชสีมา 180 เตียง (ถือหุ้น 91.42% )
- โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ 200 เตียง (ถือหุ้น 98.82%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต 266 เตียง (ถือหุ้น 99.70%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพสมุย 52 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพจันทบุรี 170 เตียง (ถือหุ้น 99.72%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพอุดร 120 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพปากช่อง 31 เตียง (ถือหุ้น 91.36%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม่ 175 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพขอนแก่น 140 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพเพชรบุรี 225 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพสนามจันทร์ 210 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพเมืองราช 142 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพพิษณุโลก 137 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลเด็กกรุงเทพพิษณุโลก 58 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพสุราษฎร์ 150 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงราย 80 เตียง (ถือหุ้น 100%) เปิด 3 มกราคม พ.ศ. 2562
- โรงพยาบาลระนองอินเตอร์เนชั่นแนล 5 เตียง
- โรงพยาบาลเกาะช้างอินเตอร์เนชั่นแนล 3 เตียง
- โรงพยาบาลแบงก์คอก อินเตอร์เนชั่นแนล 175 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลกรุงเทพเขาใหญ่ (ยังไม่เปิดดำเนินการ) (ถือหุ้น 100%)
กลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวช
แก้- โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท 311 เตียง (ถือหุ้น 95.76%)
- โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์ 400 เตียง (ถือหุ้น 95.78%)
- โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชา 184 เตียง (ถือหุ้น 67.17%)
- โรงพยาบาลสมิติเวช ธนบุรี 150 เตียง (ถือหุ้น 63.45%)[3]
- โรงพยาบาลสมิติเวช ชลบุรี 260 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลสมิติเวช ไชน่าทาวน์ 59 เตียง
- โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช อินเตอร์เนชั่นแนล (จำนวนเตียงจดทะเบียนรวมกับกลุ่มโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท และ โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์)
- Samitivej Japanese Regional Hospital[4]30 เตียง อยู่ภายใน โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีนครินทร์
กลุ่มโรงพยาบาลบีเอ็นเอช
แก้- โรงพยาบาลบีเอ็นเอช 144 เตียง (ถือหุ้น 91.48%)
กลุ่มโรงพยาบาลพญาไท
แก้- โรงพยาบาลพญาไท 1 (ถนนศรีอยุธยา) 224 เตียง (ถือหุ้น 68.59%)
- โรงพยาบาลพญาไท 2 (สนามเป้า) 260 เตียง (ถือหุ้น 97.78%)
- โรงพยาบาลพญาไท 3 (เพชรเกษม) 267 เตียง (ถือหุ้น 96.84%)
- โรงพยาบาลพญาไท พหลโยธิน: 267 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลพญาไท นวมินทร์ 140 เตียง (ถือหุ้น 99.76%) (ชื่อเดิม โรงพยาบาลศรีสยาม และโรงพยาบาลเปาโลเมโมเรียล นวมินทร์ ตามลำดับ)
- โรงพยาบาลพญาไท ศรีราชา 350 เตียง (ถือหุ้น 74.01%)
กลุ่มโรงพยาบาลเปาโล
แก้- โรงพยาบาลเปาโล สมุทรปราการ: 200 เตียง (ถือหุ้น 93.65%)
- โรงพยาบาลเปาโล โชคชัย 4: 169 เตียง (ถือหุ้น 85.71%)
- โรงพยาบาลเปาโล เกษตร: 162 เตียง (ถือหุ้น 100%) (ชื่อเดิม โรงพยาบาลเมโย)
- โรงพยาบาลเปาโล รังสิต: 150 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลเปาโล พระประแดง: 60 เตียง (ถือหุ้น 84%)
กลุ่มโรงพยาบาลรอยัล
แก้- โรงพยาบาลนานาชาติรอยัลอังกอร์ จังหวัดเสียมราฐ ประเทศกัมพูชา 30 เตียง (ถือหุ้น 80%)
- โรงพยาบาลรอยัลพนมเปญ (พนมเปญ) ประเทศกัมพูชา 100 เตียง (ถือหุ้น 100%)
โรงพยาบาลอื่นๆ ในเครือ
แก้- โรงพยาลศรีระยอง 195 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลดีบุก 100 เตียง (ถือหุ้น 100%) บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ต จำกัด
- โรงพยาบาลสิริโรจน์ 151 เตียง (ถือหุ้น 100%) บริษัท โรงพยาบาลกรุงเทพภูเก็ตอินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
- โรงพยาบาลชีวา ทรานสิชั่นนัล แคร์ [5]52 เตียง (ถือหุ้น 100%)
- โรงพยาบาลเทพากร 100 เตียง (ถือหุ้น 44.53%)
- โรงพยาบาลจอมเทียน 232 เตียง (ถือหุ้น 100%)
การถือหุ้นร่วมในบริษัทอื่น
แก้- บริษัท การบินกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ( ถือหุ้น 0.85% )
- โรงพยาบาลเอกอุดร (ถือหุ้น 25.11% ณ สิ้นปี 2560)
- โรงพยาบาลเอกชล (ถือหุ้น 0.20% ณ วันที่ 30 กันยายน 2561)[6]
- บริษัท โรงพยาบาลมหาชัย จำกัด (มหาชน) (ถือหุ้น 4.28%)
- ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (มหาชน) (ถือหุ้น 0.02%) [7]
- บริษัท เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ อุรุพงษ์ จำกัด (ถือหุ้น 4.09%)
- บริษัท เฮลิคอปเตอร์ เซอร์วิสเซส จำกัด (ถือหุ้น 100%)
- บริษัท บีดีเอ็มเอส แอคเคาท์ติ้ง จำกัด (ถือหุ้น 100%)
- บริษัท บีดีเอ็มเอส เวลเนส คลินิก จำกัด (ถือหุ้น 100%)
- บริษัท เนชั่นแนล เฮลท์แคร์ ซิสเท็มส์ จำกัด (ถือหุ้น 98.69%)
- บริษัท สหแพทย์เภสัช จำกัด (ถือหุ้น 87.05%)
- บริษัท เซฟดรัก เซ็นเตอร์ จำกัด (ถือหุ้น 100%)
- บริษัท เฟิสท์ เฮลธ์ ฟู้ด จำกัด (ถือหุ้น 95.76%)
- บริษัท กรุงเทพ พรีเมียร์ นายหน้าประกันภัย จำกัด (ถือหุ้น 100%)[8]
- บริษัท ไบโอ โมเลกุลลาร์ แลบบอราทอรี่ส์ (ประเทศไทย) จำกัด (ถือหุ้น 95.00%)
- บริษัท เยเนอรัล ฮอสปิตัล โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) (ถือหุ้น 46.03%)
- บริษัท เอ.เอ็น.บี ลาบอราดอรี่ (อำนวยเภสัช) จำกัด (ถือหุ้น 100%)
- บริษัท เอ็น เฮสท์ พยาธิวิทยา จำกัด (ถือหุ้น 95.00%)
- บริษัท N Health Cambodia Co., Ltd. (ถือหุ้น 100.00%)
- บริษัท N Health Mynmar Co., Ltd. (ถือหุ้น 100.00%)
- บริษัท กรีนไลน์ ซินเนอร์จี้ จำกัด (ถือหุ้น 100.00%)
- บริษัท เอสวี โฮลดิ้ง จำกัด (ถือหุ้น 95.76%)
- บริษัท เออร์วิ่ง เชอริเดน เอสอี จำกัด (ถือหุ้น 95.74%)
- บริษัท กรุงเทพ เซฟดรัก จำกัด (ถือหุ้น 100.00%)
- บริษัท บีดีเอ็มเอส เทรนนิ่ง จำกัด (ถือหุ้น 100.00%)
- บริษัท บีดีเอ็มเอส จัดการทรัพย์สิน จำกัด (ถือหุ้น 100.00%)
- บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำกัด (มหาชน) (ถือหุ้น 98.59%)
- บริษัท รอยัลบางกอก เฮลธ์แคร์ จำกัด (ถือหุ้น 100.00%)
- N Health Asia Pte. Ltd. (ถือหุ้น 100.00%)
- Phnom Penh First Property Co., Ltd. (ถือหุ้น 49.00%)
- S.R. Property Investment Co., Ltd. (ถือหุ้น 49.00%)
- Siem Reap Land Investment Co., Ltd. (ถือหุ้น 49.00%)
- บริษัท ประสิทธิรัตน์ จำกัด (ถือหุ้น 33.33%) ดำเนินธุรกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
- บริษัท บีดีเอ็มเอส เวลเนส รีสอร์ท จำกัด (ถือหุ้น 100%)
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
แก้- ข้อมูล ณ วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 [9]
ลำดับที่ | รายชื่อผู้ถือหุ้น | จำนวนหุ้นสามัญ | สัดส่วนการถือหุ้น |
1 | บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด | 2,017,577,151 | 12.70% |
2 | นายแพทย์ ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ | 1,740,578,540 | 10.95% |
3 | แพทย์หญิง ปรมาภรณ์ ปราสาททองโอสถ | 915,380,410 | 5.76% |
4 | บริษัท วิริยะประกันภัย จำกัด (มหาชน) | 678,201,330 | 4.27% |
5 | SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED | 607,114,795 | 3.82% |
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 รายละเอียดบริษัท/หลักทรัพย์เซ็ทเทรดดอตคอม
- ↑ สรุปข้อสนเทศบริษัทจดทะเบียนตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- ↑ รายงานประจำปี
- ↑ https://www.thaipost.net/main/detail/17843
- ↑ http://new.bangkokhospital.com/th/Chiva-Transitional-Care[ลิงก์เสีย]
- ↑ http://bdms.listedcompany.com/misc/FS/3q2018/20181114-bdms-fs-3q2018-th.pdf
- ↑ http://bdms.listedcompany.com/misc/FS/20180228-bdms-fs-fy201703-th.pdf
- ↑ "แจ้งการเปลี่ยนชื่อบริษัทย่อย". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-26. สืบค้นเมื่อ 2019-06-20.
- ↑ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เซ็ทเทรดดอตคอม