ที่ราบสูงทิเบต

ที่ราบสูงในเอเชียใต้ กลาง และตะวันออก
(เปลี่ยนทางจาก Tibetan Plateau)

ที่ราบสูงทิเบต (อังกฤษ: Tibetan Plateau; ทิเบต: བོད་ས་མཐོ།, ไวลี: bod sa mtho) มีอีกชื่อว่า ที่ราบสูงชิงไห่–ทิเบต[1] ที่ราบสูงชิง–ซ่าง[2] (จีน: 青藏高原; พินอิน: Qīng–Zàng Gāoyuán) หรือในประเทศอินเดียว่า ที่ราบสูงหิมาลัย[3][4] เป็นที่ราบสูงกว้างใหญ่ในเอเชียกลาง[5][6][7][8] และเอเชียตะวันออก[9][10][11][12] ในจีนตะวันตกกินพื้นที่เขตปกครองตนเองทิเบตส่วนใหญ่ มณฑลชิงไห่ส่วนใหญ่ มณฑลยูนนานตะวันตกเฉียงเหนือ มณฑลเสฉวนฝั่งตะวันตก และมณฑลกานซู่ตอนใต้ ส่วนแคว้นอินเดียกินพื้นที่ในลาดักกับLahaul และ Spiti (หิมาจัลประเทศ) และประเทศภูฏาน ที่ราบสูงนี้กินพื้นที่จากเหนือลงใต้ประมาณ 1,000 กิโลเมตร (620 ไมล์) และจากตะวันออกไปตะวันตก 2,500 กิโลเมตร (1,600 ไมล์) ด้วยพื้นที่ 2,500,000 ตารางกิโลเมตร (970,000 ตารางไมล์) ทำให้เป็นที่ราบสูงที่ใหญ่ที่สุดและสูงที่สุดในโลกที่อยู่เหนือระดับน้ำทะเล (ประมาณห้าเท่าของประเทศฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่)[13] ซึ่งด้วยความสูงเฉลี่ยมากกว่า 4,500 เมตร (14,800 ฟุต) และล้อมรอบด้วยเทือกเขาที่มียอดเขาสองแห่งคือยอดเขาเอเวอเรสต์และเค2 ทำให้ที่ราบสูงทิเบตมักถูกเรียกเป็น "หลังคาโลก"

ที่ราบสูงทิเบต
青藏高原 (Qīng–Zàng Gāoyuán, ที่ราบสูงชิงไห่–ทิเบต)
ที่ราบสูงทิเบตตั้งอยู่ระหว่างเทือกเขาหิมาลัยทางตอนใต้กับทะเลทรายทากลามากันทานตอนเหนือ (ภาพประกอบ)
ข้อมูลเชิงขนาด
ยาว2,500 กม. (1,553 ไมล์)
กว้าง1,000 กม. (621 ไมล์)
พื้นที่Invalid unit
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
ที่ราบสูงทิเบตและพื้นที่ล้อมรอบในความสูงเหนือ 1600 เมตร
ที่ตั้งจีน (ทิเบต, มณฑลชิงไห่, มณฑลเสฉวนตะวันตก, มณฑลยูนนานตอนเหนือ, ซินเจียงตอนใต้, มณฑลกานซู่ตะวันตก)
อินเดีย (ลาดัก, Lahaul และ Spiti)
ปากีสถาน (กิลกิต-บัลติสถาน)
เนปาล (เนปาลเหนือ)
ภูฏาน
ทาจิกิสถาน (ทาจิกิสถานตะวันออก)
คีร์กีซสถาน (คีร์กีซสถานใต้)
พิกัดเทือกเขา33°N 88°E / 33°N 88°E / 33; 88พิกัดภูมิศาสตร์: 33°N 88°E / 33°N 88°E / 33; 88

ที่ราบสูงทิเบตเป็นต้นน้ำของที่ราบลุ่มแม่น้ำส่วนใหญ่ในบริเวณล้อมรอบ บริเวณนี้มีธารน้ำแข็งหมื่นกว่าแห่งและลักษณะทางภูมิศาสตร์กับระบบนิเวศอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่เป็น "หอเก็บน้ำ" และรักษาน้ำท่า ทำให้บางครั้งมีการเรียกบริเวณนี้ว่า ขั้วโลกที่สาม เพราะมีทุ่งน้ำแข็งที่มีน้ำจืดสำรองขนาดใหญ่นอกเขตขั้วโลก ผลกระทบจากภาวะโลกร้อนในที่ราบสูงทิเบตทำให้มีความสนใจในทางวิทยาศาสตร์อย่างเข้มข้น[14][15][16][17]

อ้างอิง แก้

อ้างอิง แก้

  1. Wang, Zhaoyin; Li, Zhiwei; Xu, Mengzhen; Yu, Guoan (30 March 2016). River Morphodynamics and Stream Ecology of the Qinghai-Tibet Plateau. CRC Press.
  2. Jones, J.A.; Liu, Changming; Woo, Ming-Ko; Kung, Hsiang-Te (6 December 2012). Regional Hydrological Response to Climate Change. Springer Science & Business Media. p. 360.
  3. "हिमालयी क्षेत्र में जीवन यापन पर रिसर्च करेंगे अमेरिका और भारत".
  4. "In Little Tibet, a story of how displaced people rebuilt life in a distant land". 18 February 2020.
  5. Illustrated Atlas of the World (1986) Rand McNally & Company. ISBN 0-528-83190-9 pp. 164–65
  6. Atlas of World History (1998 ) HarperCollins. ISBN 0-7230-1025-0 p. 39
  7. "The Tibetan Empire in Central Asia (Christopher Beckwith)". สืบค้นเมื่อ 19 February 2009.
  8. Hopkirk 1983, p. 1
  9. Peregrine, Peter Neal & Melvin Ember, etc. (2001). Encyclopedia of Prehistory: East Asia and Oceania, Volume 3. Springer. p. 32. ISBN 978-0-306-46257-3.
  10. Morris, Neil (2007). North and East Asia. Heinemann-Raintree Library. p. 11. ISBN 978-1-4034-9898-4.
  11. Webb, Andrew Alexander Gordon (2007). Contractional and Extensional Tectonics During the India-Asia Collision. ProQuest LLC. p. 137. ISBN 978-0-549-50627-0.
  12. Marston, Sallie A. and Paul L. Knox, Diana M. Liverman (2002). World regions in global context: peoples, places, and environments. Prentice Hall. p. 430. ISBN 978-0-13-022484-2.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  13. "Natural World: Deserts". National Geographic. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 January 2006.
  14. Leslie Hook (30 August 2013). "Tibet: life on the climate front line". Financial Times. สืบค้นเมื่อ 1 September 2013.
  15. Liu, Xiaodong; Chen (2000). "Climatic warming in the Tibetan Plateau during recent decades". International Journal of Climatology. 20 (14): 1729–1742. Bibcode:2000IJCli..20.1729L. CiteSeerX 10.1.1.669.5900. doi:10.1002/1097-0088(20001130)20:14<1729::aid-joc556>3.0.co;2-y – โดยทาง Academia.edu.
  16. Ni, Jian (2000). "A Simulation of Biomes on the Tibetan Plateau and Their Responses to Global Climate Change". Mountain Research and Development. 20 (1): 80–89. doi:10.1659/0276-4741(2000)020[0080:ASOBOT]2.0.CO;2.
  17. Cheng, Guodong; Wu (8 June 2007). "Responses of permafrost to climate change and their environmental significance, Qinghai-Tibet Plateau". Journal of Geophysical Research. 112 (F2): F02S03. Bibcode:2007JGRF..112.2S03C. doi:10.1029/2006JF000631. S2CID 14450823.

ข้อมูล แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้