โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2019

การแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2019 คือการแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพครั้งที่สี่ เป็นการแข่งขันอีสปอร์ตในเกมโอเวอร์วอตช์ จัดขึ้นโดยบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ ผู้พัฒนาของเกม

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2019
โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2019
ข้อมูลการแข่งขัน
กีฬาอีสปอตส์ในเกม โอเวอร์วอตช์
วันที่1–3 พฤศจิกายน
ผู้จัดการแข่งขันบลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์
รูปแบบการแข่งขันแบบพบกันหมดและการแข่งขันแบบแพ้คัดออก
เจ้าภาพสหรัฐ สหรัฐอเมริกา
ทีม10 ทีม
เว็บไซต์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
ตำแหน่งสุดท้าย
Champions สหรัฐ
อันดับ 2 จีน
ทีมรองอันดับ 2 เกาหลีใต้
MVPสหรัฐ เจย์ วอน (sinatraa)
ผู้ชนะเลิศปัจจุบัน
← 2018

รูปแบบ แก้

โอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ 2019 แบ่งออกเป็นสามสเตจ ได้แก่ รอบแรก, รอบแบ่งกลุ่ม และ รอบเพลย์ออฟ อันดับประเทศของแต่ละประเทศจะมีการนำอันดับที่สุดท้ายของประเทศนั้น ๆ ในการแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพทั้งสามครั้งมาจัดโดยน้ำหนักคะแนน คะแนนจะถูกแบ่งออกตามอันดับที่โดยประเทศอันดับที่ 32 จะมี 1 คะแนน และประเทศที่ได้เหรียญทองจะมี 10 คะแนน ประเทศใด ๆ ที่มีสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขันจะต้องเข้าคัดเลือกในรอบแรก ซึ่งเป็นการแข่งขันแบบแพ้คัดออก ส่วนประเทศที่มีอันดับห้าอันดับแรกจะไม่ต้องเล่นในรอบแรก และจะได้รับสิทธิ์ชนะบายอัตโนมัติเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มเลยทันที ส่วนอันดับที่เหลือจะต้องมาแข่งขันกันเพื่อคัดเลือกเพียงห้าทีมเข้าไปแข่งในรอบถัดไป[1]

รอบแบ่งกลุ่มจะถูกจัดขึ้นในวันที่ 1 พฤศจิกายน โดยทั้งสิบประเทศที่ผ่านการคัดเลือกจะต้องลงแข่งขันกันในรอบแบ่งกลุ่มนี้ ซึ่งจะมีการแบ่งกลุ่มประเทศออกเป็นสองกลุ่มเท่า ๆ กัน และประเทศในแต่ละกลุ่มจะแข่งขันแบบพบกันหมดในกลุ่มของตน เมื่อจบรอบแบ่งกลุ่มแล้ว สองประเทศที่มีคะแนนดีที่สุดในแต่ละกลุ่ม จะได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบรองชนะเลิศ ขณะที่อันดับสองและสามจะได้เข้าไปเล่นในรอบก่อนรองชนะเลิศ[1]

รอบเพลย์ออฟจะถูกจัดขึ้นในวันที่ 2 พฤศจิกายน โดยทั้งหกประเทศที่ผ่านการคัดเลือกในรอบแบ่งกลุ่มจะต้องเข้าแข่งขันแบบแพ้คัดออก และผู้ชนะในรอบชิงชนะเลิศจะได้รับรางวัลเหรียญทอง ขณะที่ผู้แพ้ได้รับเหรียญเงิน ส่วนสองทีมที่เป็นผู้แพ้จากรอบรองชนะเลิศจะต้องมาแข่งกันเพื่อชิงเหรียญทองแดง[1]

ผู้เล่นและทีมงาน แก้

คณะกรรมการ แก้

แต่ละประเทศจะมีคณะกรรมการการแข่งขันประจำชาติเป็นของตน คณะกรรมการดังกล่าวประกอบด้วย ผู้จัดการทั่วไป หัวหน้าผู้ฝึกสอน และ ผู้นำชุมชน คณะกรรมการทั้งชุดจะถูกเลือกผ่านกระบวนการลงคะแนนเสียงจำนวนสองครั้ง ในระหว่างวันที่ 15 พฤษภาคม ถึง 9 มิถุนายน ผู้เล่นโอเวอร์วอตช์ใดก็ตามสามารถลงคะแนนให้ผู้สมัครในประเทศของตนได้[2][3] วันที่ 13 มิถุนายน บลิซซาร์ดเอ็นเตอร์เทนเมนต์ได้ประกาศรายชื่อคณะกรรมการของแต่ละประเทศ[4]

พื้นหลังสีเทา หมายถึง ประเทศที่สละสิทธิ์เข้าร่วมการแข่งขัน

ประเทศ สมาชิกคณะกรรมการ
ผู้จัดการทั่วไป (GM) ผู้นำชุมชน ผู้ฝึกสอน
  กรีซ คอนสแตนตินอส กิกัส (Kendar) ไอโออันนิส บรานิดิส (Drunkenpony) อิลิอัส คัสคาเนตัส (iLka)
  เกาหลีใต้ ฮวัง กยู-ฮย็อง (YongBongTang) พัก ชี-ฮุน (KOWLime) พัก แด-ฮี (Crusty)
  คูเวต อับดุลลาห์ อัลโอไทบี (Lorpq8) ยูเซฟ อาซิส (Mcrack) นัซซีร์ อัลราจิบ (ToxiNTV)
  แคนาดา จัสติน คอนรอย (Jayne) นาธาน ชาน (KarQ) ลุยส์ เลเบล-วอง (Tikatee)
  โคลอมเบีย มารีโอ กาโร (OdinPrime) ซันดรา เฮร์เรรา (LoboMolotov) มารีโอ วิซกายา (Pinguino)
  จีน หวัง ซงยวี่ (Xiaogui) หลี่ ฉง (Tutu) หวัง ชิงรุ่ย (RUI)
  ชิลี ปาโบล ดูรัน เซลิส (KrakeX) ฟาเบียน กาเบลโย (Delorean) อันเจโล กาเบซัส กัมโปส (Yiro)
  ซาอุดีอาระเบีย โมฮัมมัด อัลไซดัน (NOTSCAR) ซาลาม ฮดาดี (ŠÄLÄMØŠÄÜRÜŠ) มูซา กัลตัม (Abu11ibrahim)
  ญี่ปุ่น มาซูมิ ฟูกูดะ (みずイロ) ทาคูโตะ โนซาโตะ (add0ne) ยูกิ ชิมาโนะ (Youk)
  เดนมาร์ก เฟรดริก คริสเตนเซน (Huggos) ซือเฮน เคลเลอร์ (KellerSR) คริสเตียน เฮฟ (khave)
  ไต้หวัน พัน เจียฮาว (Graves) หวัง เหรินหง (Restya) เกา เว่ยเถิง (kant)
  ไทย ไม่ทราบ ไม่ทราบ จิรวัฒน์ กะลัมพะนันทน์ (HeadHawk)
  นอร์เวย์ คริสเตอร์ ริงเงเลียน (Iko) มักนัส ลามา (Lama) มิไคล ช็อนโฮ (mkL)
  นิวซีแลนด์ แคเมรอน ดอล (equinox) เอลา ฮอลแลนด์ (Fangetta) แมตต์ ซอว์เยอร์ (Noxious)
  เนเธอร์แลนด์ โทมัส เคร์เบิร์ช (Morte) ฮันเด การาซู (MissVizility) กัส ฟอม อันเดล (Casores)
  บราซิล วินีซุส แซงเกตตา คอสตา (pOkiz) มาเตอุส ปอร์ชีลู (Portilho) ยูริ ดา ซิลวา (Insanityz)
  บัลแกเรีย เวเนลิน ตอนต์เชฟ (Vivo) คอนสแตนติน คาเนฟ (NoThx) ดิมิตาร์ สเตฟ (Itopata)
  ปารากวัย เรเน โรเมโร (GoochX) ฮูลิโอ มาร์ติน อาเรีย (juliustm) โตนี ชู (Chou)
  เปรู ฮูลิโอ วิกโนโล โกเรีย (Letherin) มาเรีย อีโนสโตรซา (Mashap) จูนเนียร์ อาบัด กัมโบ (Keath)
  โปรตุเกส อเล็กซานเดร ซิมอยส์ (sanalex) ลุยส์ ซิลวา (Moove) บรูโน กาลาเปซ (GizmomcS)
  โปแลนด์ คาตาซีนา ยาโนชกา (Xandie) โวยเจฮ์ บูดา (Theo) ยาเซก ไคลซา (arek2597)
  ฝรั่งเศส พรังเดร เลอรองต์ (DeGuN) มาตีอัส ซันโท (Troma) คองตัง เซเวนีร์ (Wrath)
  ฟินแลนด์ โทเปียส รันตาลา (Kuhnu) เอโร ซัลมี (Rockett) โฮนี ปาโวลา (Seita)
  ฟิลิปปินส์ มิกา ฟาเบลลา (nilavariel) แคมี ทาฟัลลา (Yumie) ดาทาน โรซาเลส (Daks)
  มาเลเซีย เคน เลียนเดร (Beagull) ซุน ซัน (megikari) แจ็ก เทโอ (RagonSEA)
  เม็กซิโก การ์ลา เรโยโซ อัลวาเรซ (Souji) โซเฟีย มิรันดา (Mimelan) เฟร์นันโด กัสปาเร (SanjiG)
  เยอรมนี อิซซี มุนเลอร์ (Noukky) วิกตอร์ พอลสเตอร์ (Noserino) จูเลียน เมเยอร์ (ProGi)
  รัสเซีย สตานิสลาฟ ดานิลอฟ (Mistakes) โซเฟีย ออสโตรกราดสกายา (SofiJonson) ดมิทรี เปทราคอฟ (Outbreak)
  โรมาเนีย โรเบิร์ต ลูปู (Wizo) ราดู โบยา (MicRep) ราอูรานู อันเดร (ElDonte)
  ลัตเวีย เลโอนิดส์ มัสลอฟส์ (imaleo) อันเซ เมดินา (Ench) กินส์ กราซิส (GGMentality)
  สเปน ตีเบาท์ ดูรันด์ โรสซี (Tibix) แบทริซ อาลอนโซ (kaquka) ปาโบล โฮเซ รามอส อาลอนโซ (DarkZero)
  สวิตเซอร์แลนด์ ซานโดร โนโวคชิน (Sharper) อันเดรอัส ดือเลอร์ (BeFroz3n) อริส กัลลี (LUFT)
  สวีเดน ลิซา ลิงวัลล์ (LIZLIN) ดอวิด ซุนด์เบร์ก (Snipzy) ยูฮัน คลิงเยสเต็ดต์ (CWoosH)
  สหรัฐ แอนาลีนน์ แดง (bawlynn) วินิต แพเทล (Fresh) แอรอน แอตกินส์ (Aero)
  สหราชอาณาจักร ทอม สจ๊วต (Stylosa) เจมส์ ลินด์ซีย์ (BadPachimari) เอลเลียต เฮเยส (Hayes)
  สิงคโปร์ ชุน เช เทียว (TCC) นิคอลัส เทย์ (Caldoran) ซีตอห์ เจียน ชิง (JohnGalt)
  ออสเตรเลีย แอนดรู ฮอกส์ (Rqt) จาร์รอด เมเรดิท (Frogger) จอร์แดน เกรแฮม (Gunba)
  อาร์เจนตินา มาเรียโน โกโรเนล (Coro) ไดยานา เปซซาตี (Raichu) อาลัน ซัลวาตี (ddx)
  อิตาลี การ์โล เปลเลกรีนี (buddha) โรเบร์ตา อาร์โน (MISÂKI) อเลสซานโดร มาเรนซี (Tenebra)
  อินเดีย รุศินทรา สินหะ (Salbatic) อัศวัถ รามาสุพรามาเนียน (Ashr) วสุ ฉตุรเวที (Method)
  อิสราเอล ลีออร์ ยาคอบซัน (Dawn) อาซัฟ เปโดร (BubbleGun) แอนดริว แคตซ์ (fragon)
  อียิปต์ อัมเกด โอสมัน (AmgedOsman) อาเมด อัมร์ (Drinkiee) โอมาร์ โอมราน (Woofy)
  แอฟริกาใต้ แซม ไรท์ (TechGirlZA) ลีเซลล์ สมิท (VirgoLiz) ปีเตอร์ เบเรนส์ (NOTGROOT)
  ไอซ์แลนด์ วิกฟิส ออลาฟซน (FÚSI) เมลีนา กอลกา (QueenofDorkz) โอสการ์ อินโกลฟซน (ELMaestro)
  ไอร์แลนด์ แอนดรู โบฮัน (andy) ฟินน์ ไฮนส์ (CelticDemon) ไบรอัน สกรีเวน (Scrivzy)
  ฮ่องกง ดีเร็ก กว็อก (MimicOmnic) ออเดรย์ หยัม (ASCII) หลี่ จิงฉวน (HaRuHi)
แหล่งข้อมูล : อ้างอิง[4]

ผู้เล่น แก้

ผู้เล่นในทีมชาติแต่ละชาติจะถูกคัดเลือกโดยคณะกรรมการการแข่งขันประจำชาติ ซึ่งคณะกรรมการจะเลือกผู้เล่นจำนวน 12 คนเพื่อเป็นตัวแทนประเทศ จากนั้นจะตัดออกเหลือเพียง 7 คนในบัญชีรายชื่อตัวจริง[3]

การคัดเลือก แก้

ประเทศใดที่ต้องการเข้าร่วมจะต้องลงเล่นในรอบแรก ซึ่งเป็นการแข่งขันแบบแพ้คัดออกจากตาราง ขณะที่ประเทศห้าอันดับแรกจากการจัดอันดับจะไม่ต้องลงเล่นในรอบแรกนี้ โดยจะได้ชนะบายเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มต่อไป การจัดอันดับดังกล่าวนั้นตัดสินโดยระบบจัดอันดับคะแนน ตามอันดับสุดท้ายที่ได้ในเวิลด์คัพคครั้งก่อน[1]

รอบแรกถูกจัดขึ้นในวันที่ 31 ตุลาคม ตามเวลาในสหรัฐ โดยมีทีมเข้าแข่งขันทั้งสิ้น 28 ทีมในรอบแรก[5]

สนาม แก้

 
อนาไฮม์
ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
ความจุ: 7,500[6]

รอบแรก แก้

สาย A แก้

สาย A รอบแรก   สาย A รอบสอง   สาย A รอบสาม
                   
        ออสเตรเลีย 3  
  นิวซีแลนด์ 3       นิวซีแลนด์ 2  
  ออสเตรีย 0         ออสเตรเลีย 0
      เดนมาร์ก 3
        เดนมาร์ก 3
  ไต้หวัน -       ไต้หวัน 1  
ชนะบาย -  

สาย B แก้

สาย B รอบแรก   สาย B รอบสอง   สาย B รอบสาม
                   
        สหราชอาณาจักร 3  
  ไอซ์แลนด์ 3       ไอซ์แลนด์ 0  
  ไอร์แลนด์ 0         สหราชอาณาจักร 3
      นอร์เวย์ 0
        นอร์เวย์ 3
  สเปน -       สเปน 0  
ชนะบาย -  

สาย C แก้

สาย C รอบแรก   สาย C รอบสอง   สาย C รอบสาม
                   
        สวีเดน 3  
  โคลอมเบีย 3       โคลอมเบีย 0  
  ฟิลิปปินส์ 1         สวีเดน 3
      อิตาลี 1
        ญี่ปุ่น 2
  อิตาลี 3       อิตาลี 3  
  อินเดีย 0  

สาย D แก้

สาย D รอบแรก   สาย D รอบสอง   สาย D รอบสาม
                   
        รัสเซีย 3  
  ลัตเวีย 0       เม็กซิโก 0  
  เม็กซิโก 3         รัสเซีย 3
      เยอรมนี 0
        เยอรมนี 3
  ฮ่องกง 3       ฮ่องกง 0  
  ปารากวัย 0  

สาย E แก้

สาย E รอบแรก   สาย E รอบสอง   สาย E รอบสาม
                   
        ฟินแลนด์ 3  
  สิงคโปร์ 3       สิงคโปร์ 0  
  แอฟริกาใต้ 0         ฟินแลนด์ 0
      เนเธอร์แลนด์ 3
        เนเธอร์แลนด์ 3
  โปรตุเกส 1       ซาอุดิอาระเบีย 1  
  ซาอุดิอาระเบีย 3  

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

รอบแบ่งกลุ่มประกอบไปด้วยสิบประเทศ โดยทั้งสิบประเทศจะถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่ม ซึ่งเป็นการแข่งขันแบบพบกันหมดในกลุ่ม ทีมที่มีคะแนนมากสุดในแต่ละกลุ่มจะได้เข้าสู่รอบรองชนะเลิศ ขณะที่ทีมอันดับสองและสามในแต่ละกลุ่มจะเข้าแข่งขันในรอบก่อนรองชนะเลิศ[1]

กลุ่ม A แก้

อันดับ ทีม ชนะ แพ้ MW ML MD คุณสมบัติ
1   สหรัฐ 4 0 12 0 +12 เข้าสู่รอบรองชนะเลิศ
2   ฝรั่งเศส 3 1 6 6 ±0 เข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ
3   เกาหลีใต้ 2 2 7 5 +2
4   สวีเดน 1 3 3 9 -6
5   สหราชอาณาจักร 0 4 2 10 -8

แหล่งข้อมูล: OWWC

รอบ 1 1 พฤศจิกายน เกาหลีใต้   3 0   บริเตนใหญ่ เมืองอนาไฮม์
12:00 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 อิลิออส 1
3 นุมบานี 0
3 ฮานาวา 2
รอบ 1 1 พฤศจิกายน ฝรั่งเศส   0 3   สหรัฐ เมืองอนาไฮม์
12:00 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
0 อิลิออส 2
0 นุมบานี 3
1 ฮานาวา 3
รอบ 2 1 พฤศจิกายน สหรัฐ   3 0   สวีเดน เมืองอนาไฮม์
13:15 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 โอเอซิส 0
3 บลิซซาร์ดเวิลด์ 0
3 รูต 66 1
รอบ 2 1 พฤศจิกายน เกาหลีใต้   1 2   ฝรั่งเศส เมืองอนาไฮม์
13:15 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 ลีเจียงทาวเวอร์ 1
2 ไอเคนวอลด์ 3
1 รีอัลโต 2
รอบ 3 1 พฤศจิกายน ฝรั่งเศส   2 1   บริเตนใหญ่ เมืองอนาไฮม์
14:30 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
0 ปูซาน 2
3 คิงส์โรว์ 1
2 วอตช์พอยต์: ยิบรอลตา 1
รอบ 3 1 พฤศจิกายน เกาหลีใต้   3 0   สวีเดน เมืองอนาไฮม์
14:30 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 ปูซาน 0
3 คิงส์โรว์ 2
3 วอตช์พอยต์: ยิบรอลตา 0
รอบ 4 1 พฤศจิกายน ฝรั่งเศส   2 1   สวีเดน เมืองอนาไฮม์
15:45 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
1 ลีเจียงทาวเวอร์ 2
3 ไอเคนวอลด์ 1
4 รีอัลโต 3
รอบ 4 1 พฤศจิกายน สหรัฐ   3 0   บริเตนใหญ่ เมืองอนาไฮม์
15:45 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 ลีเจียงทาวเวอร์ 1
2 ไอเคนวอลด์ 1
3 รีอัลโต 0
รอบ 5 1 พฤศจิกายน เกาหลีใต้   0 3   สหรัฐ เมืองอนาไฮม์
17:00 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
0 เนปาล 2
3 ฮอลลีวูด 4
1 จังเกอร์ทาวน์ 2
รอบ 5 1 พฤศจิกายน สหราชอาณาจักร   1 2   สวีเดน เมืองอนาไฮม์
17:00 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
1 เนปาล 2
1 ฮอลลีวูด 3
4 จังเกอร์ทาวน์ 3


กลุ่ม B แก้

อันดับ ทีม ชนะ แพ้ MW ML MD คุณสมบัติ
1   จีน 4 0 11 1 +10 เข้าสู่รอบรองชนะเลิศ
2   เดนมาร์ก 3 1 7 5 +2 เข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ
3   เนเธอร์แลนด์ 2 2 6 6 ±0
4   รัสเซีย 1 3 5 7 -2
5   แคนาดา 0 4 1 11 -10

แหล่งที่มา: OWWC

รอบ 1 1 พฤศจิกายน แคนาดา   0 3   รัสเซีย เมืองอนาไฮม์
12:00 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
1 อิลิออส 2
1 นุมบานี 2
2 ฮาวานา 3
รอบ 1 1 พฤศจิกายน จีน   3 0   เดนมาร์ก เมืองอนาไฮม์
12:00 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 อิลิออส 1
6 นุมบานี 5
2 ฮาวานา 0
รอบ 2 1 พฤศจิกายน จีน   2 1   เนเธอร์แลนด์ เมืองอนาไฮม์
13:15 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 โอเอซิส 1
3 บลิซซาร์ดเวิลด์ 2
2 รูต 66 3
รอบ 2 1 พฤศจิกายน เดนมาร์ก   2 1   รัสเซีย เมืองอนาไฮม์
13:15 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 โอเอซิส 1
0 บลิซซาร์ดเวิลด์ 1
3 รูต 66 2
รอบ 3 1 พฤศจิกายน จีน   3 0   รัสเซีย เมืองอนาไฮม์
14:30 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 ปูซาน 0
4 คิงส์โรว์ 3
1 วอตช์พอยต์: ยิบรอลตา 0
รอบ 3 1 พฤศจิกายน แคนาดา   1 2   เนเธอร์แลนด์ เมืองอนาไฮม์
14:30 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
0 ปูซาน 2
3 คิงส์โรว์ 4
2 วอตช์พอยต์: ยิบรอลตา 1
รอบ 4 1 พฤศจิกายน เดนมาร์ก   2 1   เนเธอร์แลนด์ เมืองอนาไฮม์
15:45 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 ลีเจียงทาวเวอร์ 1
1 ไอเคนวอลด์ 2
1 รีอัลโต 0
รอบ 4 1 พฤศจิกายน แคนาดา   0 3   จีน เมืองอนาไฮม์
15:45 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
0 ลีเจียงทาวเวอร์ 2
1 ไอเคนวอลด์ 3
0 รีอัลโต 2
รอบ 5 1 พฤศจิกายน แคนาดา   0 3   เดนมาร์ก เมืองอนาไฮม์
17:00 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
1 เนปาล 2
1 ฮอลลีวูด 3
2 จังเกอร์ทาวน์ 3
รอบ 5 1 พฤศจิกายน รัสเซีย   1 2   เนเธอร์แลนด์ เมืองอนาไฮม์
17:00 PST     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
0 เนปาล 2
1 ฮอลลีวูด 2
4 จังเกอร์ทาวน์ 3


น็อคเอาท์สเตจ แก้

รอบน็อคเอาท์สเตจถูกจัดขึ้นในวันที่ 2 พฤศจิกายน โดยทั้งหกทีมที่ผ่านเข้ารอบจากในรอบแบ่งกลุ่มจะต้องพบเข้าแข่งขันในรูปแบบแพ้คัดออก ผู้ชนะของรอบชิงชนะเลิศจะได้รับรางวัลเหรียญทอง ขณะที่ผู้แพ้จะได้รับรางวัลเหรียญเงิน ส่วนอีกสองทีมที่แพ้ในรอบรองชนะเลิศจะต้องแข่งขันกันเพื่อชิงรางวัลเหรียญทองแดง[1]

รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

ในรอบก่อนรองชนะเลิศทีมชาติเดนมาร์กจะต้องแข่งขันกับทีมชาติเกาหลีใต้ โดยทีมที่ชนะจะผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศไปพบทีมชาติสหรัฐซึ่งผ่านเข้าไปรอในรอบดังกล่าว เนื่องจากมีคะแนนเป็นอันดับที่ 1 ในรอบแบ่งกลุ่มของกลุ่ม A ขณะที่ทีมชาติฝรั่งเศสจะต้องแข่งขันกับทีมชาติเนเธอร์แลนด์ โดยทีมที่ชนะจะผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศไปพบทีมชาติจีนซึ่งผ่านเข้าไปรอในรอบดังกล่าว เนื่องจากมีคะแนนเป็นอันดับที่ 1 ในรอบแบ่งกลุ่มของกลุ่ม B ส่วนผู้แพ้จากรอบนี้จะถูกคัดออกจากการแข่งขัน

รอบก่อนรองชนะเลิศ 1 3 พฤศจิกายน เดนมาร์ก   0 3   เกาหลีใต้ เมืองอนาไฮม์
00:30 ICT     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
1 ลีเจียงทาวเวอร์ 2
3 บลิซซาร์ดเวิลด์ 3
1 จังเกอร์ทาวน์ 2
2 วอลสกายาอินดัสทรีส์ 2
0 โอเอซิส 2
รอบก่อนรองชนะเลิศ 2 3 พฤศจิกายน ฝรั่งเศส   3 1   เนเธอร์แลนด์ เมืองอนาไฮม์
02:30 ICT     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 ลีเจียงทาวเวอร์ 1
4 บลิซซาร์ดเวิลด์ 5
1 จังเกอร์ทาวน์ 0
1 วอลสกายาอินดัสทรีส์ 0


รอบรองชนะเลิศ แก้

ในรอบรองชนะเลิศ ซึ่งทีมชาติสหรัฐและทีมชาติจีนได้สิทธิ์เข้ามารอในรอบนี้เนื่องจากมีคะแนนเป็นอันดับ 1 ในรอบแบ่งของแต่ละกลุ่ม จากการแข่งขันรอบก่อนรองชนะเลิศทำให้ทีมชาติสหรัฐต้องพบกับทีมชาติเกาหลีใต้ ขณะที่ทีมชาติจีนพบกับทีมชาติฝรั่งเศส ผลการแข่งขันทีมสหรัฐสามารถเอาชนะทีมชาติเกาหลีใต้ และทีมชาติจีนสามารถเอาชนะทีมชาติฝรั่งเศส โดยนับเป็นครั้งแรกของรายการการแข่งขันที่ทีมชาติเกาหลีใต้แพ้ให้กับทีมอื่นในรอบรองชนะเลิศ

รอบรองชนะเลิศ 1 3 พฤศจิกายน สหรัฐ   3 1   เกาหลีใต้ เมืองอนาไฮม์
03:30 ICT     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
1 ปูซาน 2
2 ฮอลลีวูด 1
5 วอชต์พอยต์: ยิบรอลตา 3
3 ฮอไรซอนลูนาร์โคโลนี 3
2 เนปาล 0
รอบรองชนะเลิศ 2 3 พฤศจิกายน จีน   3 1   ฝรั่งเศส เมืองอนาไฮม์
05:00 ICT     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
1 ปูซาน 2
3 ฮอลลีวูด 0
2 วอชต์พอยต์: ยิบรอลตา 0
1 ฮอไรซอนลูนาร์โคโลนี 1
2 เนปาล 0


รอบชิงอันดับสาม แก้

ในรอบชิงอันดับที่สาม ทีมชาติเกาหลีใต้พบกับทีมชาติฝรั่งเศส โดยทีมชาติเกาหลีใต้เอาชนะทีมชาติฝรั่งเศส และได้รับรางวัลเหรียญทองแดง

รอบชิงอันดับสาม 3 พฤศจิกายน   เกาหลีใต้ 3 0   ฝรั่งเศส เมืองอนาไฮม์
07:45 ICT     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 อิลิออส 0
3 คิงส์โรว์ 2
3 โดราโด 0


รอบชิงชนะเลิศ แก้

รอบชิงชนะเลิศ ทีมชาติสหรัฐพบกับทีมชาติจีน โดยทีมชาติสหรัฐสามารถเอาชนะทีมชาติจีนได้ และกลายเป็นแชมป์ใหม่ของรายการการแข่งขันโอเวอร์วอตช์เวิลด์คัพ

รอบชิงชนะเลิศ 3 พฤศจิกายน   สหรัฐ 3 0   จีน เมืองอนาไฮม์
09:15 ICT     ศูนย์การประชุมอนาไฮม์
2 อิลิออส 1
3 คิงส์โรว์ 2
3 โดราโด 1


แผนผัง แก้

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
 
 
 
 
 
 
  สหรัฐ 3
 
 
 
  เกาหลีใต้ 1
 
  เดนมาร์ก 0
 
 
 
  เกาหลีใต้ 3
 
  สหรัฐ 3
 
 
  จีน 0
 
 
 
 
 
  จีน 3
 
 
 
  ฝรั่งเศส 1 รอบชิงอันดับที่สาม
 
  ฝรั่งเศส 3
 
 
 
  เนเธอร์แลนด์ 1
 
  เกาหลีใต้ 3
 
 
  ฝรั่งเศส 0
 

อันดับการแข่งขัน แก้

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Viana, Bernardo (April 25, 2019). "The Overwatch World Cup 2019 is coming in November, Blizzard reveals". Dot Esports. สืบค้นเมื่อ April 25, 2019.
  2. O'Brien, Joe (April 25, 2019). "Blizzard reveal new format and schedule for 2019 Overwatch World Cup". Dexerto. สืบค้นเมื่อ April 25, 2019.
  3. 3.0 3.1 Blizzard Entertainment (April 25, 2019). "Announcing the 2019 Overwatch World Cup". สืบค้นเมื่อ April 25, 2019.
  4. 4.0 4.1 Blizzard Entertainment (June 13, 2019). "MEET THE TOP 10 COUNTRIES AND ALL COMMITTEES". สืบค้นเมื่อ August 11, 2019.
  5. O'Brien, Joe (October 31, 2019). "How to watch Overwatch World Cup 2019: Streams, schedule, teams". Dexerto. สืบค้นเมื่อ November 1, 2019.
  6. "Arena Capacities". anaheim.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-12. สืบค้นเมื่อ April 12, 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้