โยชูวา 8
โยชูวา 8 (อังกฤษ: Joshua 8) เป็นบทที่ 8 ของหนังสือโยชูวาในคัมภีร์ฮีบรูหรือในพันธสัญญาเดิมของคัมภีร์ไบเบิลในศาสนาคริสต์[1] ตามธรรมเนียมในศาสนายูดาห์เชื่อว่าหนังสือเขียนขึ้นโดยโยชูวาร่วมด้วยมหาปุโรหิตเอเลอาซาร์และฟีเนหัส[2][3] แต่นักวิชาการยุคปัจจุบันมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์เฉลยธรรมบัญญัติซึ่งครอบคลุมเรื่องราวตั้งแต่หนังสือเฉลยธรรมบัญญัติถึงหนังสือพงศ์กษัตริย์ฉบับที่ 2 เขียนโดยผู้เขียนศาสนายาห์เวห์ผู้รักชาติและศรัทธาในสมัยของโยสิยาห์กษัตริย์ยูดาห์นักปฏิรูปในศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล[3][4] บทที่ 8 ของหนังสือโยชูวาเน้นไปที่เรื่องราวของการพิชิตเมืองอัยโดยชาวอิสราเอลภายใต้การนำของโยชูวา และเรื่องราวการรื้อฟื้นพันธสัญญาบนภูเขาเอบาลและเกริซิม[5] เป็นส่วนหนึ่งของตอนที่ประกอบด้วยโยชูวา 5:13–12:24 เกี่ยวกับการพิชิตคานาอัน[6]
โยชูวา 8 | |
---|---|
← โยชูวา 7 โยชูวา 9 → | |
หน้าของหนังสือโยชูวาในฉบับเลนินกราด (ค.ศ. 1008) | |
หนังสือ | หนังสือโยชูวา |
ภาคในคัมภีร์ฮีบรู | เนวีอีม |
ลำดับในภาคของคัมภีร์ฮีบรู | 1 |
หมวดหมู่ | ผู้เผยพระวจนะยุคต้น |
ภาคในคัมภีร์ไบเบิลคริสต์ | พันธสัญญาเดิม |
ลำดับในภาคของคัมภีร์ไบเบิลคริสต์ | 6 |
ต้นฉบับ
แก้บทนี้เดิมเขียนด้วยภาษาฮีบรู แบ่งออกเป็น 35 วรรค
พยานต้นฉบับ
แก้บางสำเนาต้นฉบับในยุคต้นที่มีข้อความของบทนี้เป็นภาษาฮีบรูมีลักษณะเป็นต้นฉบับเมโซเรติก (Masoretic Text) ได้แก่ ฉบับไคโร (Codex Cairensis; ค.ศ. 895), ฉบับอะเลปโป (Aleppo Codex; ศตวรรษที่ 10) และ ฉบับเลนินกราด (Leningrad Codex; ค.ศ. 1008)[7] ชิ้นส่วนที่มีข้อความบางส่วนของบทนี้ในภาษาฮีบรูถูกพบในม้วนหนังสือเดดซี ได้แก่ 4Q47 (4QJosha; 200–100 ปีก่อนคริสตกาล) ซึ่งมีวรรคที่หลงเหลือคือ 3–14, 18 และ 34–35 (ก่อน 5:1)[8][9][10] [11]
ต้นฉบับโบราณที่หลงเหลืออยู่ของคำแปลเป็นภาษากรีกคอยนีที่รู้จักในชื่อเซปทัวจินต์ (ทำขึ้นในช่วงไม่กี่ศตวรรษสุดท้ายก่อนคริสตกาล) ได้แก่ ฉบับวาติกัน (Codex Vaticanus; B; B; ศตวรรษที่ 4) และฉบับอะเล็กซานเดรีย (Codex Alexandrinus; A; A; ศตวรรษที่ 5) (A; A; ศตวรรษที่ 5)[12][a] ชิ้นส่วนของเซปทัวจินต์ภาษากรีกที่มีบทนี้ถูกพบในต้นฉบับอย่างสำเนาต้นฉบับวอชิงตัน 1 (Washington Manuscript I; คริสต์ศตวรรษที่ 5) และพบฉบับย่อของเซปทัวจินต์ในม้วนโยชูวาที่มีภาพประกอบ[14][15][16]
วิเคราะห์
แก้เรื่องเล่าที่ชาวอิสราเอลยึดครองดินแดนคานาอันประกอบด้วยยวรรค 5:13 ถึง 12:24 ของหนังสือโยชูวา และมีโครงเรื่องดังต่อไปนี้:[17]
- A. เยรีโค (5:13–6:27)
- B. อาคานและอัย (7:1–8:29)
- 1. บาปของอาคาน (7:1-26)
- a. เร่ื่องเล่านำ (7:1)
- b. ความพ่ายแพ้ที่เมืองอัย (7:2-5)
- c. การภาวนาของโยชูวา (7:6-9)
- d. กระบวนการระบุตัวผู้กระทำผิด (7:10-15)
- e. การจับตัวอาคาน (7:16-21)
- f. การประหารชีวิตอาคานและครอบครัว (7:22-26)
- 2. การยึดเมืองอัย (8:1-29)
- a. เรื่องเล่านำ (8:1-2)
- b. อุบายของพระเจ้าในการยึดเมือง (8:3-9)
- c. การปฏิบัติตามอุบายของพระเจ้า (8:10-13)
- d. การซุ่มโจมตีประสบความสำเร็จ (8:14-23)
- e. การล่มสลายของเมืองอัย (8:24-29)
- 1. บาปของอาคาน (7:1-26)
- C. การรื้อฟื้นพันธสัญญาที่ภูเขาเอบาล (8:30–35)
- 1. การสร้างแท่นบูชา (8:30-31)
- 2. การคัดลอกธรรมบัญญัติ (8:32-33)
- 3. การอ่านธรรมบัญญัติ (8:34-35)
- D. กลอุบายของชาวกิเบโอน (9:1–27)
- E. การทัพฝ่ายใต้ (10:1–43)
- F. การทัพฝ่ายเหนือและสรุปรายพระนามกษัตริย์ (11:1–12:24)
เรื่องเล่าในโยชูวา 7-8 เป็นการประสานเรื่องราวของการละเมิดของอาคานเกี่ยวกับ 'สิ่งที่ต้องทำลายถวาย' และเรื่องราวยุทธการที่เมืองอัยเข้าด้วยกัน เพราะทั้งสองเรื่องนี้มีความเชื่อมโยงกัน[18]
การล่มสลายเมืองอัย (8:1–29)
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
การรื้อฟื้นพันธสัญญาที่ภูเขาเอบาล (8:30–35)
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โบราณคดี
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
แก้หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Halley 1965, pp. 161–163.
- ↑ Talmud, Baba Bathra 14b-15a)
- ↑ 3.0 3.1 Gilad, Elon. Who Really Wrote the Biblical Books of Kings and the Prophets?, Haaretz, June 25, 2015. Summary: The paean to King Josiah and exalted descriptions of the ancient Israelite empires beg the thought that he and his scribes lie behind the Deuteronomistic History.
- ↑ Coogan 2007, p. 314 Hebrew Bible.
- ↑ Coogan 2007, pp. 326–328 Hebrew Bible.
- ↑ McConville 2007, p. 158.
- ↑ Würthwein 1995, pp. 35–37.
- ↑ Ulrich 2010, pp. 249, 251.
- ↑ Dead sea scrolls - Joshua
- ↑ Fitzmyer 2008, p. 34.
- ↑ 4Q47 at the Leon Levy Dead Sea Scrolls Digital Library
- ↑ Würthwein 1995, pp. 73–74.
- ↑ This article incorporates text from a publication now in the public domain: Herbermann, Charles, ed. (1913). "Codex Sinaiticus". Catholic Encyclopedia. New York: Robert Appleton Company.
- ↑ "Discrepancies in manuscripts show how Old Testament scribes edited the Book of Joshua". University of Helsinki. January 29, 2018.
- ↑ Rösel, Martin (January 1, 2002). "The septuagint-version of the book of Joshua". Scandinavian Journal of the Old Testament. 16 (1): 5–23. doi:10.1080/09018320210000329. S2CID 161116376 – โดยทาง Taylor and Francis+NEJM.
- ↑ Facsimiles of Illuminated Manuscripts of the Medieval Period เก็บถาวร 2012-02-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Only contains Joshua chapter II to the end of chapter X
- ↑ Firth 2021, pp. 27–29.
- ↑ McConville 2007, p. 164.
บรรณานุกรม
แก้- Beal, Lissa M. Wray (2019). Longman, Tremper, III; McKnight, Scot (บ.ก.). Joshua. The Story of God Bible Commentary. Zondervan Academic. ISBN 978-0310490838.
- Coogan, Michael David (2007). Coogan, Michael David; Brettler, Marc Zvi; Newsom, Carol Ann; Perkins, Pheme (บ.ก.). The New Oxford Annotated Bible with the Apocryphal/Deuterocanonical Books: New Revised Standard Version, Issue 48 (Augmented 3rd ed.). Oxford University Press. ISBN 978-0195288810.
- Firth, David G. (2021). Joshua: Evangelical Biblical Theology Commentary. Evangelical Biblical Theology Commentary (EBTC) (illustrated ed.). Lexham Press. ISBN 9781683594406.
- Fitzmyer, Joseph A. (2008). A Guide to the Dead Sea Scrolls and Related Literature. Grand Rapids, MI: William B. Eerdmans Publishing Company. ISBN 9780802862419.
- Halley, Henry H. (1965). Halley's Bible Handbook: an abbreviated Bible commentary (24th (revised) ed.). Zondervan Publishing House. ISBN 0-310-25720-4.
- Harstad, Adolph L. (2004). Joshua. Concordia Publishing House. ISBN 978-0570063193.
- Hayes, Christine (2015). Introduction to the Bible. Yale University Press. ISBN 978-0300188271.
- McConville, Gordon (2007). "9. Joshua". ใน Barton, John; Muddiman, John (บ.ก.). The Oxford Bible Commentary (first (paperback) ed.). Oxford University Press. pp. 158–176. ISBN 978-0199277186. สืบค้นเมื่อ February 6, 2019.
- Rösel, Hartmut N. (2011). Joshua. Historical commentary on the Old Testament. Vol. 6 (illustrated ed.). Peeters. ISBN 978-9042925922.
- Ulrich, Eugene, บ.ก. (2010). The Biblical Qumran Scrolls: Transcriptions and Textual Variants. Brill.
- Würthwein, Ernst (1995). The Text of the Old Testament. แปลโดย Rhodes, Erroll F. Grand Rapids, MI: Wm. B. Eerdmans. ISBN 0-8028-0788-7. สืบค้นเมื่อ January 26, 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- คำแปลในศาสนายูดาห์:
- Yehoshua - Joshua - Chapter 8 (Judaica Press). Hebrew text and English translation [with Rashi's commentary] at Chabad.org
- คำแปลในศาสนาคริสต์:
- Online Bible at GospelHall.org (ESV, KJV, Darby, American Standard Version, Bible in Basic English)
- Joshua chapter 8. Bible Gateway
- โยชูวา 8. YouVersion