แอร์เอเชียเซสต์
แอร์เอเชียเซสต์ เดิมรู้จักกันในนาม สายการบินเซสต์ แอร์ และ สายการบินเอเชี่ยน สปิริต เป็นส่วนหนึ่งของ แอร์เอเชียฟิลิปปินส์ ได้รับการบริหารงานโดย นายไมเคิล โรเมโร (ประธานกรรมการ) เป็นสายการบินราคาประหยัด ในประเทศฟิลิปปินส์ มีฐานการบินอยู่ที่ ท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อาคิโน , กรุงมะนิลา , ประเทศฟิลิปปินส์ โดยให้บริการเที่ยวบินภายในประเทศและระหว่างประเทศ สายการบินแอร์เอเชียเซสต์ เริ่มต้นมาจากการร่วมลงทุนของ สายการบินเซสต์ แอร์ และ สายการบินแอร์เอเชีย และมีการเปลื่ยนชื่อเป็น สายการบินแอร์เอเชียเซสต์
| |||||||
ก่อตั้ง | กันยายน พ.ศ. 2538 | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เลิกดำเนินงาน | มกราคม พ.ศ. 2559 (เข้าร่วมกันแอร์เอเชียฟิลิปปินส์) | ||||||
ท่าหลัก | ท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อาคิโน กรุงมะนิลา | ||||||
สะสมไมล์ | BIG[1] | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 14[2] | ||||||
จุดหมาย | 17 | ||||||
บริษัทแม่ | AirAsia International Ltd. | ||||||
บุคลากรหลัก | ไมเคิล โรเมโร (ประธานกรรมการ) | ||||||
เว็บไซต์ | http://www.airasia.com |
ประวัติ
แก้หลังจากการเข้าร่วมเป็นพันธมิตรทางการบินระหว่าง แอร์เอเชียฟิลิปปินส์ และ สายการบินเซสต์ แอร์ ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่อ สายการบินเซสต์ แอร์เดิมให้เป็น แอร์เอเชียเซสต์ [3] โดย แอร์เอเชียเซสต์ ให้บริการที่ ท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อาคิโน , กรุงมะนิลา และ แอร์เอเชียฟิลิปปินส์ ให้บริการที่ ท่าอากาศยานนานาชาติคลาร์ค , กรุงมะนิลา
ปัจจุบัน แอร์เอเชียฟิลิปปินส์ ได้ย้ายมาให้บริการที่ท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อาคิโน , กรุงมะนิลา โดยมีเที่ยวบินร่วมกันกับ แอร์เอเชียเซสต์ จำนวน 3 เส้นทางบิน
จุดหมายปลายทาง
แก้แอร์เอเชียเซสต์ จะเริ่มดำเนินการในนาม แอร์เอเชียเซสต์ เมื่อวันที่ 16 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2556 โดยจุดหมายปลายทางดังต่อไปนี้
- ประเทศฟิลิปปินส์
- กรุงมะนิลา - ท่าอากาศยานนานาชาตินินอย อาคิโน ฐานการบินหลัก
- เมืองดาเวา - ท่าอากาศยานนานาชาติฟรานซิสบังกอย
- เมืองคาลิโบ - ท่าอากาศยานนานาชาติคาลิโบ
- เมืองเซบู - ท่าอากาศยานนานาชาติแมคแทน-เซบู
- เมืองแปร์โตปรินเซซา - ท่าอากาศยานนานาชาติแปร์โตปรินเซซา
- เมืองอิโลอิโล - ท่าอากาศยานนานาชาติอิโลอิโล
- เมืองบาโคลอด - ท่าอากาศยานบาโคลอด
- เมืองคากายันเดอโอโร่ - ท่าอากาศยานลัมเบีย
- เมืองทาโคลบาน - ท่าอากาศยานทาโคลบาน
- เมืองแทกบิลารัน - ท่าอากาศยานแทกบิลารัน
- ประเทศมาเลเซีย
- เขตบริหารพิเศษมาเก๊า
- สาธารณรัฐประชาชนจีน
- ประเทศเกาหลีใต้
- ประเทศไทย
ฝูงบิน
แก้จำนวนฝูงบินของสายการบินแอร์เอเชียเซสต์ วันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2557[4]
เครื่องบิน | ทะเบียน | จำนวน | สั่งซื้อ | อายุเครื่อง | จำนวนผู้โดยสาร | หมายเหตุ | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
P | Y | เส้นทางบิน | |||||||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8897 | 1 | — | 10 ปี 3 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A320-216 | RP-C8970 | 1 | — | 6 ปี 9 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A320-216 | RP-C8986 | 1 | — | 1 ปี 1 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A320-214 | RP-C8987 | 1 | — | 13 ปี 6 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8988 | 1 | — | 10 ปี 2 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8989 | 1 | — | 5 ปี 4 เดือน | 0 | 168 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A319-132 | RP-C8990 | 1 | — | 14 ปี 5 เดือน | 0 | 144 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8991 | 1 | — | 3 ปี 2 เดือน | 0 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8992 | 1 | — | 10 ปี 3 เดือน | 0 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8993 | 1 | — | 17 ปี 0 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8994 | 1 | — | 16 ปี 3 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8995 | 1 | — | 15 ปี 5 เดือน | 0 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |||
แอร์บัส A320-233 | RP-C8996 | 1 | — | 15 ปี 5 เดือน | 0 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | |||
แอร์บัส A320-232 | RP-C8997 | 1 | — | 8 ปี 3 เดือน | 0 | 180 | ภายในประเทศ และ เอเชีย | ||
รวม | 14 |
กลุ่มแอร์เอเชีย[5] กลุ่มแอร์เอเชียเป็นกลุ่มสายการบินต้นทุนต่ำรายใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียที่ดำเนินการโดยฝูงบินแอร์บัสทั้งหมด โดยสายการบินยังเป็นลูกค้าเครื่องบินตระกูล เอ320 รายใหญ่ที่สุดด้วยคำสั่งซื้อเครื่องบินทั้งหมด 475 ลำ แบ่งออกเป็น เอ320 นีโอ จำนวน 264 ลำ และเอ320 ซีโอ จำนวน 211 ลำ แอร์เอเชียเอ็กซ์ สั่งซื้อเครื่องบินลำตัวกว้าง เอ330-300 จำนวน 26 ลำ และ เอ350 เอ็กซ์ดับเบิลยูบีอีกจำนวน 10 ลำ ปัจจุบันเครื่องบินแอร์บัสทั้งสิ้น 141 ลำกำลังให้บริการจาก 16 ฐานการบินของกลุ่มแอร์เอเชีย [6] ( ไทยแอร์เอเชีย FD, แอร์เอเชียมาเลเซีย AK, อินโดนีเซียแอร์เอเชีย QZ, แอร์เอเชียเจแปน JW, แอร์เอเชียฟิลิปปินส์ PQ, แอร์เอเชียเซสต์ Z2, แอร์เอเชีย เอกซ์ D7 )
External links
แก้- http://www.facebook.com/AirAsiaPhilippines
- http://www.mb.com.ph/articles/293287/airasia-launches-philippine-joint-venture
- http://www.asianjournal.com/dateline-philippines/headlines/9496-clark-picked-as-airasia-hub-in-ph-.html เก็บถาวร 2012-03-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- http://www.mb.com.ph/articles/293465/philippine-carriers-brace-competition-airasia-which-starts-flights-aug
- http://business.inquirer.net/money/breakingnews/view/20101217-309486/PH-carriers-brace-for-AirAsia-competition เก็บถาวร 2012-03-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- http://www.relax.com.sg/relax/news/516688/AirAsia_s_Philippines_unit_sees_maiden_flight_in_2011.html เก็บถาวร 2012-03-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
References
แก้- ↑ http://www.airasia.com/my/en/big/big-loyalty.page?
- ↑ Camus, Miguel (October 21, 2013). "AirAsia Zest launches flights to Miri, Malaysia to service OFWs". Philippine Daily Inquirer. สืบค้นเมื่อ 24 October 2013.
- ↑ http://www.abs-cbnnews.com/business/09/21/13/airasia-zestair-launch-rebranded-airline
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-11. สืบค้นเมื่อ 2014-01-28.
- ↑ [1]
- ↑ [2]
แม่แบบ:Airlines of the Philippines แม่แบบ:Transportation in the Philippines