มะนิลา
มะนิลา (อังกฤษ: Manila; ฟิลิปปินส์: Maynila) เป็นเมืองหลวงของประเทศฟิลิปปินส์ ตั้งอยู่บนชายฝั่งตะวันออกของอ่าวมะนิลา (Manila Bay) บนเกาะลูซอนซึ่งเป็นเกาะที่ใหญ่ที่สุดและตั้งอยู่ทางเหนือสุดของฟิลิปปินส์ บางส่วนของเมืองมีความยากจน อย่างไรก็ดี มะนิลาเป็นเมืองที่มีชนชาติรวมกันอยู่มากมาย และเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม การศึกษา และอุตสหากรรมของประเทศ มะนิลาคือศูนย์กลางของเขตมหานครที่มีประชากรมากกว่า 10 ล้านคน เขต เมโทรมะนิลา (Metro Manila) เป็นมหานครที่ใหญ่กว่า ประกอบด้วยเมืองและเทศบาล 17 แห่ง เฉพาะเมืองมะนิลาเองเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 2 มีประชากรประมาณ 1.5 ล้านคน เมืองเดียวที่มีประชากรมากกว่าคือเมืองเกซอนซิตี (Quezon City) ชานเมืองและอดีตเมืองหลวง มะนิลาตั้งอยูที่ 14°35' เหนือ 121°0' ตะวันออก [1] เก็บถาวร 2012-08-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
มะนิลา Lungsod ng Maynila | |
---|---|
เมืองหลวง | |
แผนที่กรุงมะนิลาภายในนครหลวงมะนิลา | |
ประเทศ | ฟิลิปปินส์ |
ภูมิภาค | เขตนครหลวง |
Districts | 1st to 6th districts of Manila |
Kingdom of Maynila | 1500s |
Spanish City of Manila | 24 มิถุนายน 1571 |
จำนวนบารังไกย์ (District) | 897 |
การปกครอง[1] | |
• ประเภท | รัฐบาลนายกเทศมนตรีสภา |
• นายกเทศมนตรี | โจเซฟ เอสตราดา (สหรัฐพันธมิตรผู้รักชาติ) |
• รองนายกเทศมนตรี | อิสโก โมเรโน (สหรัฐพันธมิตรผู้รักชาติ) |
• สภาผู้แทนราษฎร | City Representatives |
• สภาเมือง | Councilors |
พื้นที่ | |
• เมืองหลวง | 38.55 ตร.กม. (14.88 ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง | 1,474.82 ตร.กม. (569.43 ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 638.55 ตร.กม. (246.55 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 16.0 เมตร (52.5 ฟุต) |
ประชากร (2010)[2] | |
• เมืองหลวง | 1,652,171 คน |
• ความหนาแน่น | 42,858 คน/ตร.กม. (111,000 คน/ตร.ไมล์) |
• เขตเมือง | 21,951,000 คน |
• ความหนาแน่นเขตเมือง | 15,400 คน/ตร.กม. (40,000 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 11,855,975 คน |
• ความหนาแน่นรวมปริมณฑล | 18,567 คน/ตร.กม. (48,090 คน/ตร.ไมล์) |
เดมะนิม | Manileño (m) / Manileña (f), Manilan |
เขตเวลา | UTC+8 (PST) |
ZIP code | 0900 to 1096 |
Area code | 2 |
เว็บไซต์ | www |
ภูมิศาสตร์
แก้มะนิลามีพื้นที่กว้างประมาณ 38.55 ตารางกิโลเมตร นับเป็นเมืองหลวงที่มีพื้นที่กว้างขวางน้อยที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้[3]
ภูมิอากาศ
แก้ข้อมูลภูมิอากาศของมะนิลา (1971-2000) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 29.5 (85.1) |
30.5 (86.9) |
32.1 (89.8) |
33.5 (92.3) |
33.2 (91.8) |
32.2 (90) |
31.1 (88) |
30.6 (87.1) |
30.9 (87.6) |
30.9 (87.6) |
30.7 (87.3) |
29.7 (85.5) |
31.24 (88.24) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | 26.5 (79.7) |
27.2 (81) |
28.5 (83.3) |
29.9 (85.8) |
30.0 (86) |
29.2 (84.6) |
28.5 (83.3) |
28.1 (82.6) |
28.2 (82.8) |
28.2 (82.8) |
27.1 (80.8) |
26.2 (79.2) |
28.13 (82.64) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | 18.5 (65.3) |
20.8 (69.4) |
25.9 (78.6) |
26.2 (79.2) |
26.7 (80.1) |
26.2 (79.2) |
25.8 (78.4) |
25.5 (77.9) |
25.5 (77.9) |
25.5 (77.9) |
24.9 (76.8) |
23.9 (75) |
24.62 (76.31) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 19.0 (0.748) |
7.9 (0.311) |
11.1 (0.437) |
21.4 (0.843) |
165.2 (6.504) |
265.0 (10.433) |
419.6 (16.52) |
486.1 (19.138) |
330.3 (13.004) |
270.9 (10.665) |
129.3 (5.091) |
75.4 (2.969) |
2,201.2 (86.661) |
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย | 1.0 | 1.0 | 1.0 | 1.0 | 7.0 | 14.0 | 16.0 | 19.0 | 17.0 | 13.0 | 9.0 | 5.0 | 104 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 186 | 196 | 248 | 270 | 217 | 180 | 180 | 155 | 150 | 186 | 180 | 186 | 2,334 |
แหล่งที่มา 1: World Meteorological Organization[4] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: Hong Kong Observatory (sunshine data 1961-1990)[5] |
ประชากร
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ในวันที่ 13 กันยายน 2556 ในกรุงมะนิลามีประชากรประมาณ 3.27 ล้านคน ทั้งหมดมีเชื้อสายลูกผสมของฟิลิปปินส์กับสเปน
อ้างอิง
แก้- ↑ "Cities". Quezon City, Philippines: Department of the Interior and Local Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-03-09. สืบค้นเมื่อ 30 November 2012.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ2010 census
- ↑ "AEC INSIGHT กับ เกษมสันต์: ข่าววันใหม่". ช่อง 3. 26 November 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-23. สืบค้นเมื่อ 26 November 2014.
- ↑ "World Weather Information Service - Manila". World Meteorological Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-25. สืบค้นเมื่อ January 13, 2013.
- ↑ "Climatological Information for Manila, Philippines". Hong Kong Observatory. 12 January 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-03-19.