เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออกของกรีนิช คือ เส้นลองจิจูดที่ลากจากขั้วโลกเหนือผ่านมหาสมุทรอาร์กติก ทวีปเอเชีย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรอินเดีย ออสเตรเลีย มหาสมุทรใต้ และแอนตาร์กติกา เข้าสู่ขั้วโลกใต้

Line across the Earth
120°
เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก

เส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออก เป็นรูปแบบเส้นวงกลมใหญ่ของเส้นเมริเดียนที่ 60 องศาตะวันตก

จากขั้วโลกสู่ขั้วโลก แก้

เริ่มจากขั้วโลกเหนือ มุ่งหน้าลงไปทางใต้สู่ขั้วโลกใต้ โดยเส้นเมริเดียนที่ 120 องศาตะวันออกลากผ่านพื้นที่ดังนี้:

พิกัด ประเทศ ดินแดน หรือพื้นน้ำ หมายเหตุ
90°0′N 120°0′E / 90.000°N 120.000°E / 90.000; 120.000 (Arctic Ocean) มหาสมุทรอาร์กติก
78°22′N 120°0′E / 78.367°N 120.000°E / 78.367; 120.000 (Laptev Sea) ทะเลลัปเตฟ
73°10′N 120°0′E / 73.167°N 120.000°E / 73.167; 120.000 (Russia)   รัสเซีย สาธารณรัฐซาฮา
แคว้นอามูร์ — จากพิกัด 56°55′N 120°0′E / 56.917°N 120.000°E / 56.917; 120.000 (Amur Oblast)
ซาบัยคาสกีไคร — from 56°30′N 120°0′E / 56.500°N 120.000°E / 56.500; 120.000 (Zabaykalsky Krai)
51°31′N 120°0′E / 51.517°N 120.000°E / 51.517; 120.000 (China)   สาธารณรัฐประชาชนจีน เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน
มณฑลเหลียวหนิง – จากพิกัด 41°42′N 120°0′E / 41.700°N 120.000°E / 41.700; 120.000 (Liaoning)
40°4′N 120°0′E / 40.067°N 120.000°E / 40.067; 120.000 (Bohai Sea) ทะเลปั๋วไห่
37°25′N 120°0′E / 37.417°N 120.000°E / 37.417; 120.000 (China)   สาธารณรัฐประชาชนจีน มณฑลซานตง (คาบสมุทรซานตง)
35°43′N 120°0′E / 35.717°N 120.000°E / 35.717; 120.000 (Yellow Sea) ทะเลเหลือง
34°26′N 120°0′E / 34.433°N 120.000°E / 34.433; 120.000 (China)   สาธารณรัฐประชาชนจีน มณฑลเจียงซู
มณฑลเจ้อเจียง – จากพิกัด 31°1′N 120°0′E / 31.017°N 120.000°E / 31.017; 120.000 (Zhejiang), ผ่านทางตะวันตกของหางโจว (ที่พิกัด 30°15′N 120°10′E / 30.250°N 120.167°E / 30.250; 120.167 (Hangzhou))
มณฑลฝูเจี้ยน – จากพิกัด 27°19′N 120°0′E / 27.317°N 120.000°E / 27.317; 120.000 (Fujian)
26°36′N 120°0′E / 26.600°N 120.000°E / 26.600; 120.000 (East China Sea) ทะเลจีนตะวันออก
25°23′N 120°0′E / 25.383°N 120.000°E / 25.383; 120.000 (South China Sea) ทะเลจีนใต้ ผ่านช่องแคบไต้หวัน, ผ่านทางตะวันตกของเกาะไต้หวัน,   สาธารณรัฐจีน (ที่พิกัด 23°5′N 120°2′E / 23.083°N 120.033°E / 23.083; 120.033 (Taiwan))
16°20′N 120°0′E / 16.333°N 120.000°E / 16.333; 120.000 (Philippines)   ฟิลิปปินส์ เกาะคาบาร์รูยัน และ ลูซอน
15°17′N 120°0′E / 15.283°N 120.000°E / 15.283; 120.000 (South China Sea) ทะเลจีนใต้ ผ่านทางตะวันตกของเกาะลูบัง,   ฟิลิปปินส์ (ที่พิกัด 13°53′N 120°1′E / 13.883°N 120.017°E / 13.883; 120.017 (Lubang))
12°16′N 120°0′E / 12.267°N 120.000°E / 12.267; 120.000 (Philippines)   ฟิลิปปินส์ เกาะบูซวนกา และ คูเลียน
11°41′N 120°0′E / 11.683°N 120.000°E / 11.683; 120.000 (Sulu Sea) ทะเลซูลู
10°34′N 120°0′E / 10.567°N 120.000°E / 10.567; 120.000 (Philippines)   ฟิลิปปินส์ เกาะดูมารัน
10°33′N 120°0′E / 10.550°N 120.000°E / 10.550; 120.000 (Sulu Sea) ทะเลซูลู ผ่านอุทยานธรรมชาติปะการังตุบบาตาฮา,   ฟิลิปปินส์ (ที่พิกัด 8°55′N 120°0′E / 8.917°N 120.000°E / 8.917; 120.000 (Tubbataha Reef))
5°56′N 120°0′E / 5.933°N 120.000°E / 5.933; 120.000 (Philippines)   ฟิลิปปินส์ เกาะลาปารัน
5°52′N 120°0′E / 5.867°N 120.000°E / 5.867; 120.000 (Sulu Sea) ทะเลซูลู
5°14′N 120°0′E / 5.233°N 120.000°E / 5.233; 120.000 (Philippines)   ฟิลิปปินส์ เกาะตาวีตาวี และ บีลาทตัน
4°57′N 120°0′E / 4.950°N 120.000°E / 4.950; 120.000 (Celebes Sea) ทะเลเซเลบีส
1°12′N 120°0′E / 1.200°N 120.000°E / 1.200; 120.000 (Makassar Strait) ช่องแคบมากัสซาร์
0°29′N 120°0′E / 0.483°N 120.000°E / 0.483; 120.000 (Indonesia)   อินโดนีเซีย เกาะซูลาเวซี
5°34′S 120°0′E / 5.567°S 120.000°E / -5.567; 120.000 (Flores Sea) ทะเลโฟลเร็ซ
8°27′S 120°0′E / 8.450°S 120.000°E / -8.450; 120.000 (Indonesia)   อินโดนีเซีย เกาะโฟลเร็ซ
8°49′S 120°0′E / 8.817°S 120.000°E / -8.817; 120.000 (Sumba Strait) ช่องแคบซูมบา
9°22′S 120°0′E / 9.367°S 120.000°E / -9.367; 120.000 (Indonesia)   อินโดนีเซีย เกาะซูมบา
10°2′S 120°0′E / 10.033°S 120.000°E / -10.033; 120.000 (Indian Ocean) มหาสมุทรอินเดีย
19°56′S 120°0′E / 19.933°S 120.000°E / -19.933; 120.000 (Australia)   ออสเตรเลีย รัฐเวสเทิร์นออสเตรเลีย
33°56′S 120°0′E / 33.933°S 120.000°E / -33.933; 120.000 (Indian Ocean) มหาสมุทรอินเดีย ทางการออสเตรเลียถือว่าบริเวณนี้เป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทรใต้[1][2]
60°0′S 120°0′E / 60.000°S 120.000°E / -60.000; 120.000 (Southern Ocean) มหาสมุทรใต้
66°52′S 120°0′E / 66.867°S 120.000°E / -66.867; 120.000 (Antarctica) แอนตาร์กติกา ดินแดนออสเตรเลียแอนตาร์กติกา, อ้างสิทธิ์โดย   ออสเตรเลีย

ดูเพิ่ม แก้

อ้างอิง แก้

  1. Darby, Andrew (22 December 2003). "Canberra all at sea over position of Southern Ocean". The Age. สืบค้นเมื่อ 13 January 2013.
  2. "Indian Ocean". Encyclopaedia Britannica. สืบค้นเมื่อ 13 January 2013.