เทา คนเลี้ยงสัตว์ บี

ทู คนเลี้ยงสัตว์ บี เป็นดาวเคราะห์นอกระบบที่อยู่ห่างจากโลกประมาณ 50 ปีแสง โคจรอยู่ในระบบดาวเคราะห์ทู คนเลี้ยงสัตว์ อยู่ในกลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์ ประกาศในปี ค.ศ. 1996 โดย Geoffrey Marcy และR. Paul Butler ดาวฤกษ์ทู คนเลี้ยงสัตว์มีดาวเคราะห์ดวงแรกโคจรอยู่ที่ได้รับการคอนเฟิร์ม[3] เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม ค.ศ. 1999 ดาวเคราะห์ถูกขนานนาม ดาวเคราะห์มิลเลนเนียม เพราะดาวดวงนี้นั้น (สมควร) คิดว่าจะเป็นดาวเคราะห์แรกที่ถูกค้นพบในสายตา[4]

Tau Boötis b
ดาวเคราะห์นอกระบบ รายชื่อ

Artists conception of Tau Boötis b (and hypothetical natural satellite)
orbiting its parent star Tau Boötis
ดาวฤกษ์แม่
ดาวฤกษ์ ทู คนเลี้ยงสัตว์
กลุ่มดาว กลุ่มดาวคนเลี้ยงสัตว์
ไรต์แอสเซนชัน (α) 13h 47m 15.7s
เดคลิเนชัน (δ) +17° 27′ 25″
ความส่องสว่างปรากฏ (mV) 4.5
ระยะห่าง50.84 ly
(15.60 pc)
ชนิดสเปกตรัม F6IV
องค์ประกอบวงโคจร
กึ่งแกนเอก(a) 0.0481 [1] AU
ความเยื้องศูนย์กลาง (e) 0.023 ± 0.015 [1]
คาบการโคจร(P)3.312463 ± 0.000014 [1] d
(0.009069 y)
ความเอียง (i) 44[2]°
มุมของจุดใกล้ที่สุด (ω) 188°
เวลาที่เข้าใกล้ดาวฤกษ์แม่ที่สุด (T0) 2,446,957.81 ± 0.54 JD
ครึ่งแอมพลิจูด (K) 461.1 m/s
ลักษณะทางกายภาพ
มวล(m)6[2] MJ
ข้อมูลการค้นพบ
ค้นพบเมื่อ 1996
ค้นพบโดย Marcy et al.
วิธีตรวจจับ Doppler Spectroscopy
สถานที่ที่ค้นพบ สหรัฐ University of California
สถานะการค้นพบ Published
ชื่ออื่น
Tau Boötis Ab
อ้างอิงกับฐานข้อมูลอื่น
สารานุกรม
ดาวเคราะห์นอกระบบ
ข้อมูล
ซิมแบดข้อมูล
ภาพวาดจินตนาการของดาวทู คนเลี้ยงสัตว์ บี

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 Butler, R. P.; และคณะ (2006). "Catalog of Nearby Exoplanets". The Astrophysical Journal. 646 (1): 505–522. arXiv:astro-ph/0607493. Bibcode:2006ApJ...646..505B. doi:10.1086/504701. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-02. สืบค้นเมื่อ 2013-02-23.
  2. 2.0 2.1 "New Way of Probing Exoplanet Atmospheres" in Science Daily (27 June 2012), http://www.sciencedaily.com/releases/2012/06/120627132051.htm; reporting on Nature (28 June 2012) | doi:10.1038/?
  3. Butler, R. Paul; และคณะ (1997). "Three New 51 Pegasi Type Planets". The Astrophysical Journal Letters. 474 (2): L115–L118. Bibcode:1997ApJ...474L.115B. doi:10.1086/310444.
  4. Steve Connor (16 December 1999). "Scientists catch the `millennium' planet's glow". The Independent. สืบค้นเมื่อ 26 December 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

พิกัด:   13h 47m 15.7s, +17° 27′ 25″