อักษรฮะนีฟีโรฮีนจา

อักษรฮะนีฟีโรฮีนจา เป็นอักษรแบบเอกเทศ (unified script) สำหรับภาษาโรฮีนจา ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ด้วยอักษรเปอร์เซีย-อาหรับ จากนั้นมีการพัฒนาอักขรวิธีอาหรับตามแบบชุดตัวอักษรอูรดูใน ค.ศ. 1975

อักษรฮะนีฟีโรฮีนจา
𐴌𐴟𐴇𐴥𐴝𐴚𐴒𐴙𐴝 𐴇𐴝𐴕𐴞𐴉𐴞 𐴓𐴠𐴑𐴤𐴝 [1]
ชนิด
อักษร
ผู้ประดิษฐ์โมฮัมมัด ฮะนีฟ
ประดิษฐ์เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1980
ทิศทางRight-to-left Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาโรฮีนจา
ISO 15924
ISO 15924Rohg (167), ​Hanifi Rohingya
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Hanifi Rohingya
ช่วงยูนิโคด
U+10D00–U+10D3F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

ในคริสต์ทศวรรษ 1980 โมฮัมมัด ฮะนีฟกับเพื่อนร่วมงานถอดเสียงอักษรตามอักษรอาหรับ ซึ่งเทียบเท่าอักษรอึนโก และยังมีชุดตัวเลขเป็นของตนเองด้วย[1][2]

ตัวอักษร

แก้
อักษร
𐴆 𐴅 𐴄 𐴃 𐴁 𐴀
𐴋 𐴊 𐴉 𐴂 𐴈 𐴇
𐴑 𐴐 𐴏 𐴎 𐴍 𐴌
𐴗 𐴖 𐴕 𐴔 𐴓 𐴒
𐴜 𐴛 𐴚 𐴙 𐴘
สระ
𐴢 𐴡 𐴠 𐴟 𐴞 𐴝
◌𐴧 ◌𐴦 ◌𐴥 ◌𐴤 𐴣
ตัวเลข
𐴰 𐴱 𐴲 𐴳 𐴴 𐴵 𐴶 𐴷 𐴸 𐴹

อักษรและการออกเสียง

แก้

พยัญชนะ

แก้
ตัวอักษร [3] ชื่อ ท้าย กลาง ออกเสียง ยูนิโคด [4]
𐴀 A 𐴀 ـ𐴀ـ [ɔ], [ʔ] U+10D00
𐴁 BA 𐴁𐴢 ـ𐴁ـ [b] U+10D01
𐴃 TA 𐴃𐴢 ـ𐴃ـ [t] U+10D03
𐴄 TTA 𐴄𐴢 ـ𐴄ـ [ʈ] U+10D04
𐴅 JA 𐴅 ـ𐴅ـ [ɟ] U+10D05
𐴆 CA 𐴆 ـ𐴆ـ [c] U+10D06
𐴇 HA 𐴇𐴢 ـ𐴇ـ [h] U+10D07
𐴈 KHA 𐴈𐴢 ـ𐴈ـ [x] U+10D08
𐴉 FA 𐴉𐴢 ـ𐴉ـ [f] U+10D09
𐴂 PA 𐴂𐴢 ـ𐴂ـ [p] U+10D02
𐴊 DA 𐴊𐴢 ـ𐴊ـ [d] U+10D0A
𐴋 DDA 𐴋 ـ𐴋ـ [ɖ] U+10D0B
𐴌 RA 𐴌 ـ𐴌ـ [ɾ] U+10D0C
𐴍 RRA 𐴍 ـ𐴍ـ [ɽ] U+10D0D
𐴎 ZA 𐴎 ـ𐴎ـ [z] U+10D0E
𐴏 SA 𐴏𐴢 ـ𐴏ـ [s] U+10D0F
𐴐 SHA 𐴐𐴢 ـ𐴐ـ [ʃ] U+10D10
𐴑 KA 𐴑 ـ𐴑ـ [k] U+10D11
𐴒 GA 𐴒𐴢 ـ𐴒ـ [g] U+10D12
𐴓 LA 𐴓𐴢 ـ𐴓ـ [l] U+10D13
𐴔 MA 𐴔𐴢 ـ𐴔ـ [m] U+10D14
𐴕 NA 𐴕 ـ𐴕ـ [n] U+10D15
𐴖 WA 𐴖𐴢 ـ𐴖ـ [ʋ], [v] U+10D16
𐴗 KINNA WA 𐴗𐴢 ـ𐴗ـ []
(สำหรับกลุ่มคำหรือสระประสม)
U+10D17
𐴘 YA 𐴘 ـ𐴘ـ [j] U+10D18
𐴙 KINNA YA 𐴙𐴢 ـ𐴙ـ []
(สำหรับกลุ่มคำหรือสระประสม)
U+10D19
𐴚 NGA = gan 𐴚 ـ𐴚ـ [ŋ] U+10D1A
𐴛 NYA = nayya 𐴛 ـ𐴛ـ [ɲ] U+10D1B
𐴜 VA 𐴜𐴢 ـ𐴜ـ [v] U+10D1C

สระ

แก้
ตัวอักษร ชื่อ ทับศัพท์ ออกเสียง ยูนิโคด ตัวอักษร ชื่อ ทับศัพท์ ประเภท สัทอักษรสากล ยูนิโคด
𐴝 aa-for a [a] U+10D1D 𐴢 Ttura/Les ไม่มี ตัวเก็บเสียงสระ ไม่มี U+10D22
𐴞 i-for i [i] U+10D1E 𐴣 Na-Khonna ñ (อักษรเต็ม) สัญลักษณ์ออกเสียงขึ้นจมูก [◌̃] U+10D23
𐴟 u-for u [u] U+10D1F ◌𐴤 Harbai á (อะคิวต์แอกเซนต์) เสียงสูงสั้น [á] U+10D24
𐴠 e-for e [e] U+10D20 ◌𐴥 Tela áa (พยัญชนะซ้อน, ลงน้ำหนักที่ตัวแรก) เสียงลงต่ำยาว [âː] U+10D25
𐴡 o-for o [o] U+10D21 ◌𐴦 Tana aá (พยัญชนะซ้อน, ลงน้ำหนักที่ตัวที่สอง) เสียงขึ้นสูงยาว [ǎː] U+10D26
◌𐴧 Tossi aa (พยัญชนะซ้อน) สัญลักษณ์ซ้ำเสียง [ː] U+10D27

ตัวเลข

แก้
ชื่อ sifír ek dui tin sair fañs háñt añctho no
รูปเลข 𐴰 𐴱 𐴲 𐴳 𐴴 𐴵 𐴶 𐴷 𐴸 𐴹
ยูนิโคด U+10D30 U+10D31 U+10D32 U+10D33 U+10D34 U+10D35 U+10D36 U+10D37 U+10D38 U+10D39

ฟอนต์

แก้

มีการพัฒนาฟอนต์ Noto Sans ของกูเกิลไปเป็นฟอนต์อักษรโรฮีนจาที่มีชื่อว่า Noto Sans Hanifi Rohingya ซึ่งมีให้ใช้ใน GitHub.

แป้นพิมพ์

แก้
 
เค้าโครงแป้นพิมพ์เสมือนของภาษาโรฮีนจา

กูเกิลได้พัฒนาแป้นพิมพ์เสมือนสำหรับภาษาโรฮีนจาใน ค.ศ. 2019 และอนุญาตให้ผู้ใช้พิมพ์อักษรโรฮีนจาได้โดยตรง เค้าโครงแป้นพิมพ์ยูนิโคดโรฮีนจาสามารถพบได้ ที่นี่

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "Rohingya alphabets, pronunciation and language". Omniglot. Simon Ager. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2020. สืบค้นเมื่อ 9 October 2017.
  2. James, Ian (5 July 2012). "Hanifi alphabet for Rohingya". Sky Knowledge. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 December 2020. สืบค้นเมื่อ 9 October 2017.
  3. ตารางนี้สามารถใช้ได้ดีด้วยการใช้ Firefox และฟอนต์ Noto Sans Rohingya
  4. "Unicode 11.0.0". Unicode Consortium. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-06. สืบค้นเมื่อ 2018-06-05.