สุริยา รัตนกุล
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.คุณหญิง สุริยา รัตนกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรีได้รับ เกียรตินิยมอันดับหนึ่งจากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมทั้งได้รับพระราชทานทุนอานันทมหิดล ในการศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทางภาษาศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยปารีส(ซอร์บอน)
ในระยะต่อมาหลังจากจบปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยปารีสแล้ว อาจารย์ท่านได้สอนที่คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แล้วย้ายมามหาวิทยาลัยมหิดลก่อตั้งรวมถึงเป็นผู้อำนวยการโครงการศูนย์ศึกษาวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์ ซึ่งต่อมาพัฒนาโครงการนี้มาเป็นสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท พร้อมทั้งดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการคนแรก 2 วาระติดกัน ระหว่าง พ.ศ. 2524-2531 ต่อจากนั้นได้เป็น Fulbright Visiting Professor ไปสอนที่มหาวิทยาลัย Eastern Washington และ มหาวิทยาลัย Oregon แล้วกลับมาเป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยภาษาอีกครั้งหนึ่ง ในระหว่าง พ.ศ. 2536-2544 รวมเป็นผู้อำนวยการสถาบันนี้ 4 วาระ หากถ้านับตอนที่ดำเนินการก่อตั้งในตอนที่เป็นผู้อำนวยการศูนย์วิจัยภาษาด้วยแล้วก็นับว่า เป็นผู้อำนวยการแห่งนี้อยู่ตั้งแต่ พ.ศ. 2517-2544 รวม 27 ปี ต่อจากนั้นเป็นรองอธิการบดีฝ่ายสร้างเครือข่ายภายในและระหว่างประเทศ พร้อมทั้งเป็นผู้ก่อตั้งและรักษาการคณบดีคนแรกของคณะศิลปศาสตร์ ปัจจุบัน เป็นศาสตราจารย์ระดับ 11 วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล สอนวิชาอารยธรรมโลก พุทธศิลป์ จิตวิทยาพุทธศาสนา สตรีกับศาสนา และ ศาสนากับวัฒนธรรม
ผลงานของอาจารย์มีทั้งทางภาษาศาสตร์ และศาสนศึกษา ในเรื่องภาษาศาสตร์ อาจารย์เป็นนักภาษาศาสตร์ชั้นนำในเอเชียอาคเนย์ และประเทศไทย โดยเป็นผู้บุกเบิกการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมชนกลุ่มน้อยในประเทศและเป็นผู้สร้างพจนานุกรมภาษาละว้า-ไทย และไทยละว้า (421 หน้า) 2529-2530 ภาษาไทย-กะเหรี่ยงสะกอ (1,277 หน้า) 2529 ตำราเรื่อง นานาภาษาไทยในเอเชียอาคเนย์ ภาค 1 (390 หน้า) และภาค 2 (212 หน้า) 2531-2546 อารยธรรมไทย (449 หน้า) อรรถศาสตร์เบื้องต้น (365 หน้า) 2544-2555 ส่วนในด้านศาสนศึกษา ผลงานสำคัญได้แก่หนังสือ พิธีกรรมในศาสนา เล่ม 1 (299 หน้า) และเล่ม 2 (342 หน้า) พระอารามหลวงในกรุงเทพมหานคร เล่ม 1 และ เล่ม 2 (931 หน้า) 2552 นอกจากนั้นอาจารย์ยังเป็นผู้แต่งหนังสือชุดอารยธรรม 5 เล่ม (1,068 หน้า) และนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่อง คลีโอพัตรา: ราชินีน้ำผึ้งพิษ มายาในมายา และเจงกิสข่านลงพิมพ์ในนิตยสารสกุลไทย
ประวัติการศึกษา
แก้- ที่หนึ่งห้อง King แผนกอักษรศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และเป็นที่สามของประเทศไทย 2506
- อักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2510
- ปริญญาเอก (Doctorat de l”Université de Paris) จากมหาวิทยาลัยปารีส ประเทศฝรั่งเศส ปี พ.ศ. 2513
ประวัติการทำงาน
แก้- พ.ศ. 2513 - 2517 อาจารย์ประจำคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- พ.ศ. 2517 - 2524 ผู้อำนวยการโครงการศูนย์ศึกษาวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2524 จนถึง 2544 สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล (เคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ 4 วาระ)
- พ.ศ. 2544 จนถึง 2548 รองอธิการบดีฝ่ายสร้างเครือข่ายภายในและระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2547 - 2548 รักษาการคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2548 - เป็นศาสตราจารย์ระดับ 11 ประจำวิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2550 - เป็นบรรณาธิการวารสารศาสนาและวัฒนธรรม
และยังเป็นอาจารย์พิเศษให้กับ วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล และที่ปรึกษาคณบดี คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นอกจากนี้ ท่านยังเป็น Fulbright Visiting professor ที่ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นวอชิงตัน Eastern Washington University และมหาวิทยาลัยออริกอน Oregon University สหรัฐอเมริกา ในระหว่างปี พ.ศ. 2529-2530 และ 2530-2531 อีกด้วย
งานด้านวิชาการ
แก้งานสอนที่นักศึกษาระดับปริญญาโทที่สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทระหว่าง พ.ศ. 2524-2548 ได้สอนในรายวิชาเหล่านี้หลายครั้งตลอดเวลา 24 ปีนั้น LCLG 528 ภาษาและวัฒนธรรม (Language and Culture)
LCLG 532 ภาษาศาสตร์เอเชียอาคเนย์ (Southeast Asian Linguistics)
LCLG 534 ภาษาศาสตร์ภาคประวัติ (Historial Linguistics)
LCLG 536 อรรถศาสตร์ (Semantics)
LCLG 562 Austroasiatics Linguistics
LCLG 569 ภาษาไทยเปรียบเทียบ (Comparative Tai)
LCLG 600 Seminar in Southeast Asian Linguistics
LCLG 619 การทำพจนานุกรม (Lexicography)
งานสอนที่นักศึกษาระดับปริญญาเอกที่สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทระหว่าง พ.ศ. 2528-2548 ได้สอนในรายวิชา
LCLG 600 Seminar in Southeast Asian Linguistics
LCLG 569 ภาษาไทยเปรียบเทียบ (Comparative Tai)
LCLG 532 ภาษาศาสตร์เอเชียอาคเนย์ (Southeast Asian Linguistics)
LCLG 562 Austroasiatics Linguistics
LCLG 536 อรรถศาสตร์ (Semantics)
LCLG 601 Seminar in Comparative and Historical Linguistics
LCLG 625 Research Design in Linguistics
LCLG 609 Topics in Semantics
งานสอนที่นักศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาลัยศาสนศึกษา
ระหว่าง พ.ศ. 2549-ปัจจุบัน ได้สอนในรายวิชา
CRRS 104 Western Civilization
CRRS 105 Eastern Civilization
CRRS 217 The Nature and Destiny of Man
CRRS 219 Religious Meditation
CRRS 220 Religious Rituals
English for CRRS Students (พระภิกษุ)
CRRS 251 Woman and Religion
CRRS 253 Religion and the Individual
CRRS 415 Buddhist Psychology
CRRS 416 Buddhism in Visual Art
CRRS 104 World Civilization I
(หลักสูตรใหม่เริ่มในปีการศึกษา 2556 โดยเป็นผู้สอนวิชานี้เป็นคนแรก)
งานคุมวิทยานิพนธ์
1) คุมวิทยานิพนธ์ปริญญาโทของสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท ประมาณ 25 เรื่อง
2) คุมวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกหลังจากที่ได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์แล้ว 10 เรื่อง และกรรมการสอบ วิทยานิพนธ์ 3 เรื่อง
3) คุมวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของวิทยาลัยศาสนศึกษา ประมาณ 2 เรื่อง
งานสรุปสารนิพนธ์ ระดับปริญญาตรีที่วิทยาลัยศาสนศึกษา 27 เรื่อง งานวิจัย จำนวน 33 โครงการ
เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย 33 เรื่อง เป็นผู้ร่วมโครงการวิจัย 9 เรื่อง
1972 Thai-Hmong Dictionary, Bangkok: Kasemsamphan, pp.195. (in Thai)
1972 Where is ฃ ฅ, Journal of Thammasart University, Vol.2, No.1., p.29-60. (in Thai)
1974 Idiomatic Usage : Proverbs, Metaphor, Saying, Four-syllabled phrase, Journal of Thammasart University, Vol.4, No.1., p.122-141. (in Thai)
1974 Problem in Learning Thai of the Khmu-Lawa-Thin Children.
1977 A Study of the Thin: a Mon-Khmer linguistic community in Thailand, presented at the Symposium on Researches in Philosophy, March 24-26, 1977 at the Faculty of Education, Chulalongkorn University under the auspices of the National Research council of Thailand (The Philosophy Division)
1977 Aspects of Linguistic Features in Minority Languages, presented to The Regional Seminar on Language Education in Multilingual Societies: Its Challenges and Potentials, Singapore, 18-22 April, 1977.
1978 Karen Song, presented to the Seminar on “Language Research in Thailand”, 23-24 February, 1978.
1981 Sgaw Karen Color Categories, presented to the Eleventh International Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics, University of Arizona, October 20-22, 1978, published in Journal of the Siam Society, volume 69, 1981, p.138-144.
1981 Transitivity and causation in Sgaw Karen, presented to the Thirteenth International Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics, University of Virginia, October 24-26, 1980, published in Linguistics Across Continents: Studies in Honor of Richard S. Pittman edited by Andrew Gonzalez and David Thomas, Manila, 1981, p.156-179.
1982 Learning Thai Language in the old days, Journal of Language and Culture,Vol.2, No.2., July-December 1982, p.1-27. (in Thai)
1983 Mahathen Sri-Satha: A Sukhothai Hero, Journal of Language and Culture,Vol.3, No.2., July-December 1983, p.37-57. (in Thai)
1983 Three Copulative verbs in Sgaw Karen, Computational Analyses of Asian & African Languages, No.21, February 1983, p.93-108.
1984 A Prolegomena on Traditional Wisdom in Karen Folklore, Presented to the International Symposium on Southeast Asian Folklore, Krogerup College, Humlebaek, Denmark, August 23-26, 1982, published in Journal of the Siam Society, volume.72, 1984, p.1-13.
1984 Lawa and Lua, Journal of Language and Culture, Vol.4, No.1., January-June 1984, p.56-78. (in Thai)
1985 Northern Tai and Central Tai, Journal of Language and Culture, Vol.5, No.1., January-June 1985, p.28-54. (in Thai)
1985 The Lawa Lәsɔm lε Poetry, Journal of the Siam Society, volume 73, 1985, p.183-204.
1985 Suriya Ratanakul and Lakhana Daoratanahong, The Phonology of Lawa, Southeast Asian Linguistic Studies presented to Andre-G. Haudricourt, edited by Suriya Ratanakul, David Thomas, Suwilai Premsrirat, Mahidol University, Bangkok, p.264-309.
1986 A Study of Compound Nouns in Lawa, White Meo and Sgaw Karen, presented to the 17th International Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics at the University of Oregon, September 7-9, 1984, published in Language in Global Perspective. Papers in Honor of the 50th Anniversary of the Summer Institute of Linguistics (1935-1985), Copyright 1986 by the Summer Institute of Linguistics, Dallas, Texas, p.549-556.
1986 Suriya Ratanakul and Lakhana Daoratanahong, Lawa-Thai Dictionary, pp.421.
1986 Suriya Ratanakul, Wirat Niyomtham and Sophana Srichampa, Thai-Sgaw Karen Dictionary, pp.1277.
1986 The Analysis of ta in Sgaw Karen, Journal of Language and Culture, Vol.6, No.1., January-June 1986, p.1-35.
1987 Suriya Ratanakul and Lakhana Daoratanahong, Thai-Lawa Dictionary, pp.501.
1988 Suriya Ratanakul and Lakhana Daoratanahong, Symptom-Aggravating Food and Food Behaviour of the Karen Sgaw, pp.92. (in Thai)
1995 Suriya Ratanakul, Having Fun with the Thai Language, Journal of Language and Culture, Vol.14, No.1., January-June 1995, p.13-17. (in Thai)
1996 Suriya Ratanakul, Funeral Tradition of the Lua, Journal of Language and Culture, Vol.15, No.1., January-June 1996, p.4-27. (in Thai)
1996 Suriya Ratanakul and Somsonge Burusphat, Languages and cultures of the Kam-Tai (Zhuang-Dong) Group: A Word List, Sahathammika Press, pp.481.
1996 Suriya Ratanakul, Sujaritlak Deepadung and Pattiya Jimreavat, Lua Language and Culture : A Study from 30 Conversational Lessons, Sahathammika Press, pp.247.
1996 Nathawee Thotsarot and Suriya Ratanakul, The Encyclopedia of the Ethnic Groups in Thai: Lawa, Sahathammika Press, pp.32. (in Thai)
1996 Suriya Ratanakul, “Lawa Lәsɔm lε poetry revisited.”, Mon-Khmer Studies, 26: 387-410.
1997 Sujaritlak Deepadung and Suriya Ratanakul, “Final particles in conversational Mal (Thin).”, Mon-Khmer Studies, 27: 81-89.
1998 Suriya Ratanakul, “Numeral Classifiers in Sgaw Karen.”, Mon-Khmer Studies,28: 101-113.
2004 Suriya Ratanakul, Collection of Academic Articles: Karen, Bangkok, Sahathammik Press, pp.168. (in Thai and English)
2005 Suriya Ratanakul, Collection of Academic Articles: Lawa, Lua and Others, Sahathammik Press, pp.174. (in Thai and English)
การไปประชุมเสนอผลงานทางวิชาการในประเทศ รวม 15 ครั้ง จำไม่ได้ว่าเสนอในการประชุมสัมมนาที่ใดบ้าง แต่ผลที่ได้คือการได้จัดพิมพ์บทความและหนังสือต่อไปนี้
1972 Thai-Hmong Dictionary, Bangkok: Kasemsamphan, pp.195. (in Thai)
1972 Where is ฃ ฅ, Journal of Thammasart University, Vol.2, No.1., p.29-60. (in Thai)
1974 Idiomatic Usage : Proverbs, Metaphor, Saying, Four-syllabled phrase, Journal of Thammasart University, Vol.4, No.1., p.122-141. (in Thai)
1977 A Study of the Thin: a Mon-Khmer linguistic community in Thailand, presented at the Symposium on Researches in Philosophy, March 24-26, 1977 at the Faculty of Education, Chulalongkorn University under the auspices of the National Research council of Thailand (The Philosophy Division)
1982 Learning Thai Language in the old days, Journal of Language and Culture,Vol.2, No.2., July-December 1982, p.1-27. (in Thai)
1983 Mahathen Sri-Satha: A Sukhothai Hero, Journal of Language and Culture,Vol.3, No.2., July-December 1983, p.37-57. (in Thai)
1984 Lawa and Lua, Journal of Language and Culture, Vol.4, No.1., January-June 1984, p.56-78. (in Thai)
1985 Northern Tai and Central Tai, Journal of Language and Culture, Vol.5, No.1., January-June 1985, p.28-54. (in Thai)
1985 The Lawa Lәsɔm lε Poetry, Journal of the Siam Society, volume 73, 1985, p.183-204.
1988 Suriya Ratanakul and Lakhana Daoratanahong, Symptom-Aggravating Food and Food Behaviour of the Karen Sgaw, pp.92. (in Thai)
1995 Suriya Ratanakul, Having Fun with the Thai Language, Journal of Language and Culture, Vol.14, No.1., January-June 1995, p.13-17. (in Thai)
1996 Suriya Ratanakul, Funeral Tradition of the Lua, Journal of Language and Culture, Vol.15, No.1., January-June 1996, p.4-27. (in Thai)
1996 Nathawee Thotsarot and Suriya Ratanakul, The Encyclopedia of the Ethnic Groups in Thai: Lawa, Sahathammika Press, pp.32. (in Thai)
2004 Suriya Ratanakul, Collection of Academic Articles: Karen, Bangkok, Sahathammik Press, pp.168. (in Thai and English)
2005 Suriya Ratanakul, Collection of Academic Articles: Lawa, Lua and Others, Sahathammik Press, pp.174. (in Thai and English)
การไปประชุมเสนอผลงานทางวิชาการต่างประเทศ รวม 7 ครั้ง
1977 Aspects of Linguistic Features in Minority Languages, presented to The Regional Seminar on Language Education in Multilingual Societies: Its Challenges and Potentials, Singapore, 18-22 April, 1977.
1981 Transitivity and causation in Sgaw Karen, presented to the Thirteenth International Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics, University of Virginia, October 24-26, 1980, published in Linguistics Across Continents: Studies in Honor of Richard S. Pittman edited by Andrew Gonzalez and David Thomas, Manila, 1981, p.156-179.
1983 Three Copulative verbs in Sgaw Karen, Computational Analyses of Asian & African Languages, No.21, February 1983, p.93-108.
1985 Suriya Ratanakul and Lakhana Daoratanahong, The Phonology of Lawa, Southeast Asian Linguistic Studies presented to Andre-G. Haudricourt, edited by Suriya Ratanakul, David Thomas, Suwilai Premsrirat, Mahidol University, Bangkok, p.264-309.
1986 A Study of Compound Nouns in Lawa, White Meo and Sgaw Karen, presented to the 17th International Conference on Sino-Tibetan Languages and Linguistics at the University of Oregon, September 7-9, 1984, published in Language in Global Perspective. Papers in Honor of the 50th Anniversary of the Summer Institute of Linguistics (1935-1985), Copyright 1986 by the Summer Institute of Linguistics, Dallas, Texas, p.549-556.
2004 Suriya Ratanakul, Collection of Academic Articles: Karen, Bangkok, Sahathammik Press, pp.168. (in Thai and English)
2005 Suriya Ratanakul, Collection of Academic Articles: Lawa, Lua and Others, Sahathammik Press, pp.174. (in Thai and English)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2543 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[1]
- พ.ศ. 2538 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[2]
- พ.ศ. 2534 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้า (ท.จ.) (ฝ่ายใน)[3]
- พ.ศ. 2538 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[4]
อ้างอิง
แก้- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย, เล่ม ๑๑๗ ตอนที่ ๒๕ ข หน้า ๙, ๑ ธันวาคม ๒๕๔๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2010-02-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๒ ตอนที่ ๑๗ ข หน้า ๑๙, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๘ ตอนที่ ๗๘ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๖, ๓ พฤษภาคม ๒๕๓๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๑๑๓ ตอนที่ ๔ ข หน้า ๖๖๐, ๑๕ มีนาคม ๒๕๓๙
- เอกสารรายละเอียดอาจารย์ประจำหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2547 มหาวิทยาลัยมหิดล
- วิทยาลัยศาสนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล