กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์

(เปลี่ยนทางจาก ยานอวกาศเคปเลอร์)

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์ (อังกฤษ: Kepler space telescope) เป็นกล้องโทรทรรศน์อวกาศของ นาซา ที่ค้นพบดาวเคราะห์คล้ายโลกโคจรอยู่รอบ ๆ ดาวฤกษ์ดวงอื่น[5] การตั้งชื่อกล้องโทรทรรศน์อวกาศนำมาจากนักดาราศาสตร์ในศตวรรษที่ 17 โยฮันเนส เคปเลอร์[6] ขึ้นสู่อวกาศในวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 2009[7] หลังจากการปฏิบัติงานมากว่า 9 ปี เชื้อเพลิงของยานอวกาศเคปเลอร์ก็หมดลงทำให้นาซาประกาศปลดระวางภารกิจในวันที่ 30 ตุลาคม 2018[8][9]

กล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์
Kepler in orbit
ภาพวาดในจินตนาการของกล้องโทรทรรศน์อวกาศเคปเลอร์
ประเภทภารกิจกล้องโทรทรรศน์อวกาศ
ผู้ดำเนินการนาซา / LASP
COSPAR ID2009-011A
SATCAT no.34380
เว็บไซต์www.nasa.gov/kepler
ระยะภารกิจวางแผน: 3.5 ปี
สิ้นสุด: 9 ปี, 7 เดือน, 23 วัน
ข้อมูลยานอวกาศ
ผู้ผลิตBall Aerospace & Technologies
มวลขณะส่งยาน1,052.4 กิโลกรัม (2,320 ปอนด์)[1]
มวลแห้ง1,040.7 กิโลกรัม (2,294 ปอนด์)[1]
มวลบรรทุก478 กิโลกรัม (1,054 ปอนด์)[1]
ขนาด4.7 โดย 2.7 เมตร (15.4 โดย 8.9 ฟุต)[1]
กำลังไฟฟ้า1100 วัตต์[1]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น7 มีนาคม 2009, 03:49:57 UTC[2]
จรวดนำส่งเดลต้า II (7925-10L)
ฐานส่งสถานีกองทัพอากาศแหลมคะแนเวอรัล SLC-17B
ผู้ดำเนินงานUnited Launch Alliance
เริ่มปฎิบัติงาน12 พฤษภาคม 2009, 09:01 UTC
สิ้นสุดภารกิจ
ปิดการทำงาน15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 (2018-11-15)
ลักษณะวงโคจร
ระบบอ้างอิงวงโคจรรอบดวงอาทิตย์
ระบบวงโคจรตามโลก
กึ่งแกนเอก1.0133 AU
ความเยื้อง0.036116
ระยะใกล้สุด0.97671 AU
ระยะไกลสุด1.0499 AU
ความเอียง0.4474 องศา
คาบการโคจร372.57 วัน
มุมของจุดใกล้ที่สุด294.04 องศา
มุมกวาดเฉลี่ย311.67 องศา
การเคลื่อนไหวเฉลี่ย0.96626 องศาต่อวัน
วันที่ใช้อ้างอิง1 มกราคม 2018 (J2000: 2458119.5)[3]
กล้องโทรทรรศน์หลัก
ชนิดแบบชมิท
เส้นผ่านศูนย์กลาง0.95 เมตร (3.1 ฟุต)
พื่นที่รับแสง0.708 ตารางเมตร (7.62 ตารางฟุต)[a]
ความยาวคลื่น430–890 nm[3]
อุปกรณ์ส่งสัญญาณ
แบนด์วิดท์เอกซ์แบนด์ บน: 7.8 บิตต่อวินาที – 2 กิโลบิตต่อวินาที[3]
เอกซ์แบนด์ ล่าง: 10 บิตต่อวินาที – 16 กิโลบิตต่อวินาที[3]
Ka band ล่าง: จนถึง 4.3 เมกะบิตต่อวินาที[3]
 

กล้องโทรทรรศน์อวกาศอันนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่คล้ายโลกที่โครจรอยู่ในเขตอาศัยได้และทำการประมาณค่าว่าดาวฤกษ์หลายพันล้านดาวในทางช้างเผือกมีดาวเคราะห์ดังกล่าวกี่ดวง[10][11][12] อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่ติดไปกับตัวกล้องนั้นคือเครื่องวัดความเข้มแสงที่คอยตรวจสอบความต่อเนื่องของแสงสว่างของดาวฤกษ์ประมาณ 150,000 ดวงในแถบลำดับหลัก[13] จากนั้นกล้องนจะส่งข้อมูลกลับไปยังสถานีเพื่อทำการตรวงสอบการบังแสงของดาวเคราะห์ในขณะที่มันโคจรผ่านดาวฤกษ์ ช่วงตลอดเวลา 9 ปีของภาระกิจมันทำการสังเกตดาวฤกษ์กว่า 530,506 ดาวและค้นพบดาวเคราะห์อีก 2,662 ดวง[14]

หมายเหตุ

แก้
  1. ช่องรับแสงขนาด 0.95 ม. ให้พื้นที่รวมแสง Pi×(0.95/2)2 = 0.708 ม.2; CCD จำนวน 42 ตัวแต่ละตัวขนาด 0.050 ม. × 0.025 ม. ให้พื้นที่ตัวรับรู้ทั้งหมด 0.0525 ม.2:[4]

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "Kepler: NASA's First Mission Capable of Finding Earth-Size Planets" (PDF). NASA. กุมภาพันธ์ 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 มีนาคม 2009. สืบค้นเมื่อ 13 มีนาคม 2015.
  2. "KASC Scientific Webpage". Kepler Asteroseismic Science Consortium. Aarhus University. 14 มีนาคม 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 "Kepler (spacecraft)". JPL Horizons On-Line Ephemeris System. NASA/JPL. 6 มกราคม 2018. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2018.
  4. "Kepler Spacecraft and Instrument". NASA. 26 มิถุนายน 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 มกราคม 2014. สืบค้นเมื่อ 18 มกราคม 2014.
  5. Koch, David; Gould, Alan (มีนาคม 2009). "Kepler Mission". NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 มีนาคม 2014. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
  6. DeVore, Edna (9 มิถุนายน 2008). "Closing in on Extrasolar Earths". space.com. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2009.
  7. NASA Staff. "Kepler Launch". NASA. สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2009.
  8. Chou, Felicia; Hawkes, Alison; Cofield, Calia (30 ตุลาคม 2018). "NASA Retires Kepler Space Telescope". NASA. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2018.
  9. Overbye, Dennis (30 ตุลาคม 2018). "Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2018.
  10. "Kepler: About the Mission". NASA / Ames Research Center. 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2016.
  11. Overbye, Dennis (12 พฤษภาคม 2013). "Finder of New Worlds". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2014.
  12. Overbye, Dennis (6 มกราคม 2015). "As Ranks of Goldilocks Planets Grow, Astronomers Consider What's Next". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 6 มกราคม 2015.
  13. Borucki, William J.; Koch, David; Basri, Gibor; และคณะ (กุมภาพันธ์ 2010). "Kepler Planet-Detection Mission: Introduction and First Results". Science. 327 (5968): 977–980. Bibcode:2010Sci...327..977B. doi:10.1126/science.1185402.
  14. Overbye, Dennis. "Kepler, the Little NASA Spacecraft That Could, No Longer Can". New York Times. สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2018.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้
Extrasolar planet catalogs and databases