ภาษาเขิน หรือ ภาษาขึน บ้างก็ว่า ภาษาไทเขิน หรือ ภาษาไทขึน (เขิน: Dai Kun) มีผู้พูดทั้งสิ้น 120,855 คน พบในส่วนใหญ่อยู่ในเชียงตุง รัฐฉาน ประเทศพม่า ประมาณ 114,574 คน (พ.ศ. 2543) พบในประเทศไทย 6,281 คน (พ.ศ. 2543) ในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย ใกล้เคียงกับภาษาไทลื้อและภาษาไทใต้คง เขียนด้วยอักษรธรรมที่มีอักขรวิธีคล้ายอักษรธรรมล้านนา[2] จัดอยู่ในตระกูลภาษาขร้า-ไท กลุ่มภาษากัม-ไท สาขาเบ-ไท สาขาย่อยไท-แสก

ภาษาเขิน
ภาษาขึน
ᨣᩤᩴᨡᩨ᩠ᨶ
ออกเสียง/kam˧˧ kʰɤːn˩˩˦/
ประเทศที่มีการพูดประเทศพม่า (รัฐฉาน), ประเทศไทย (จังหวัดเชียงรายและเชียงใหม่)
ภูมิภาคฉานตะวันออก
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (100,000 อ้างถึง1990)[1]
ตระกูลภาษา
ขร้า-ไท
ระบบการเขียนอักษรธรรม, อักษรไทย
สถานภาพทางการ
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน พม่า
รหัสภาษา
ISO 639-3kkh

อ้างอิง

แก้
  1. ภาษาเขิน ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  2. ไทขึน (ไทเขิน) (Tai Kheun) เก็บถาวร 2010-09-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน การศึกษาชนชาติไทเขิน ตอนที่ 1 ภาพรวม
  • Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.