ฟูจิวาระ โนะ โมตตสึเนะ
(เปลี่ยนทางจาก ฟูจิวาระ โนะ โมโตสึเนะ)
ฟูจิวาระ โนะ โมตตสึเนะ (ญี่ปุ่น: 藤原 基経; โรมาจิ: Fujiwara no Mototsune; 836 – 24 กุมภาพันธ์ 891) รู้จักกันในชื่อ โฮริกาวะ ไดจิง (ญี่ปุ่น: 堀川大臣; โรมาจิ: Horikawa Daijin) เป็นรัฐบุรุษ ข้าราชสำนักและขุนนางชาวญี่ปุ่นในช่วงต้นยุคเฮอัง[1]
ภาพวาดของโมตตสึเนะโดยคิกุชิ โยไซ | |
ยุค | ยุคเฮอัง |
เกิด | ค.ศ. 836 |
ถึงแก่กรรม | 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 891 |
ตำแหน่ง | ขุนนางรองขั้น 1, ขุนนางหลักขั้น 1, ไดโจไดจิง, เซ็ชโช, คัมปากุ |
จักรพรรดิ | มนโตะกุ→เซวะ→โยเซ→โคโก→อูดะ |
ตระกูล | ฟูจิวาระ |
บิดามารดา | บิดา : ฟุจิวะระ โนะ นะงะระ บิดาบุญธรรม : ฟุจิวะระ โนะ โยะชิฟุซะ |
บุตร | โทกิฮิระ ทาดาฮิระ ฟุจิวะระ โนะ องชิ (จักรพรรดิไดโงะ) ฟุจิวะระ โนะ องชิ (จักรพรรดิอุดะ) |
ชีวประวัติ
แก้เมื่อตอนที่เกิดเป็นบุตรชายคนที่ 3 ของฟูจิวาระ โนะ นางาระ แต่ได้ถูกยกเป็นบุตรบุญธรรมของอาผู้ทรงอำนาจทางการเมืองอย่างฟูจิวาระ โนะ โยชิฟูซะที่ไร้ทายาท ซึ่งโมตตสึเนะได้เดินตามรอยโยชิฟูซะในการเข้ามามีอำนาจในราชสำนักและได้เป็นผู้สำเร็จราชการในจักรพรรดิถึง 3 พระองค์
อาชีพ
แก้- 864 (โจงังที่ 6): โมตตสึเนะได้รับการแต่งตั้งเป็นซังงิ
- 866 (โจงังที่ 8): ชูนางง
- 870 (โจงังที่ 12, เดือน 1): ได้รับตำแหน่งไดนางง[2]
- 872 (โจงังที่ 14): ได้รับตำแหน่งอูไดจิง[1]
- 876 (โจงังที่ 18): ได้รับตำแหน่งเซ็ชโช[1]
- 880 (กังเกียวที่ 4): ได้รับตำแหน่งไดโจไดจิง[1]
- 884 (กังเกียวที่ 8): โมตตสึเนะเป็นบุคคลแรกที่ได้รับตำแหน่ง คัมปากุ.[1]
- 890 (คัมเปียวที่ 2, วันที่ 14 เดือน 12): เกษียณจากตำแหน่งคัมปากุ
- 25 กุมาพันธ์ ค.ศ. 891 (คัมเปียวที่ 3, วันที่ 13 เดือน 1): เสียชีวิตตอนอายุ 56 ปี[3]
พงศาวลี
แก้เขาอยู่ในตระกูลฟูจิวาระ โดยเแ็นบุตรของฟูจิวาระ โนะ นางาระ ผู้เป็นหนึ่งในบรรดาพี่น้องฟูจิวาระ โนะ โยชิฟูซะ โมตตสึเนะได้รับเลี้ยงเป็นบุตรและผู้สืบทอดของโยชิฟูซะ[4] หรือกล่าวในอีกรูปแบบคือ โยชิฟูซะเป็นลุงของโมตตสึเนะ และเป็นบิดาผ่านการรับเลี้ยงเป็นบุตร[5]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Fujiwara no Mototsune" in Japan Encyclopedia, p. 206, p. 206, ที่กูเกิล หนังสือ; Brinkley, Frank et al. (1915). A History of the Japanese People from the Earliest Times to the End of the Meiji Era, p. 203., p. 203, ที่กูเกิล หนังสือ
- ↑ Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon, p. 119., p. 119, ที่กูเกิล หนังสือ; see "Fousiwara-no Moto tsoune", pre-Hepburn romanization
- ↑ Titsingh, p. 127., p. 127, ที่กูเกิล หนังสือ
- ↑ Brinkley, p. 237., p. 237, ที่กูเกิล หนังสือ
- ↑ "Yoshifusa Mototsune", in Encyclopædia Britannica; retrieved 2011-07-24
ข้อมูล
แก้- Brinkley, Frank and Kikuchi Dairoku. (1915). A History of the Japanese People from the Earliest Times to the End of the Meiji Era. New York: Encyclopædia Britannica. OCLC 413099
- Hioki, S. (1990). Nihon Keifu Sōran. Kōdansya. (Japanese)
- Kasai, M. (1991). Kugyō Bunin Nenpyō. Yamakawa Shuppan-sha (Japanese)
- Kodama, K. (1978). Nihon-shi Shō-jiten, Tennō. Kondō Shuppan-sha. (Japanese)
- Nussbaum, Louis-Frédéric and Käthe Roth. (2005). Japan encyclopedia. Cambridge: Harvard University Press. ISBN 978-0-674-01753-5; OCLC 58053128
- Owada, T. et al. (2003). Nihonshi Shoka Keizu Jinmei Jiten. Kōdansya. (Japanese)
- Titsingh, Isaac. (1834). Nihon Ōdai Ichiran; ou, Annales des empereurs du Japon. Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691