ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024

การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024 เป็นครั้งที่ 17 ของการแข่งขัน ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย (ก่อนหน้านี้รู้จักในนาม เอเอฟซี ควาตซอล แชมเปียนชิพ),[1] การแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์นานาชาติ จัดทุก 2 ปี ซึ่งจัดโดย สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติชายแห่งทวีปเอเชีย มีทีมเข้าร่วมแข่งขันทั้งหมด 1 ทีม[2] สี่ทีมที่ดีที่สุดจะได้ผ่านเข้ารอบ ฟุตซอลโลก ในประเทศอุซเบกิสถาน นอกเหนือจาก ไทย ที่จะได้ผ่านเข้ารอบเป็นเจ้าภาพโดยอัตโนมัติ. หากอุซเบกิสถานเข้าถึงรอบรองชนะเลิศ, รอบเพลย์ออฟจะมีการจัดขึ้นเพื่อตัดสินตัวแทนจากทวีปเอเชียทีมสุดท้ายในฟุตซอลชิงแชมป์โลก

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพไทย
วันที่17–28 เมษายน พ.ศ. 2567
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (สมัยที่ 13)
รองชนะเลิศธงชาติไทย ไทย
อันดับที่ 3ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
อันดับที่ 4ธงชาติทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน35
จำนวนประตู177 (5.06 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอิหร่าน Saeid Ahmadabbasi
(8 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอิหร่าน Saeid Ahmadabbasi
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมอิหร่าน Bagher Mohammadi
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติไทย ไทย
2022
2026

ทีมชาติญี่ปุ่น คือแชมป์เก่า

การเลือกเจ้าภาพ แก้

มีห้าประเทศที่ได้รับการยืนยันสำหรับการประมูล

ประเทศไทยได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพโดยคณะกรรมการฟุตซอลและฟุตบอลชายหาดของเอเอฟซี เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2566[3]

รอบคัดเลือก แก้

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

16 ทีมด้านล่างนี้ ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย.

ทีม เข้ารอบในฐานะ วันที่ผ่านเข้ารอบ จำนวนครั้งที่ได้เข้าร่วม ผลงานล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
  ไทย 5 กันยายน พ.ศ. 2566[3] เจ้าภาพ ครั้งที่ 17 2022 รองชนะเลิศ (2008, 2012)
  จีน 13 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอ ชนะเลิศ ครั้งที่ 13 2018 อันดับที่ 4 (2008, 2010)
  อัฟกานิสถาน 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม บี ชนะเลิศ ครั้งที่ 1 ครั้งแรก ไม่เคย
  ซาอุดีอาระเบีย 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม บี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 3 2022 รอบแบ่งกลุ่ม (2018, 2022 )
  อิหร่าน 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม ซี ชนะเลิศ ครั้งที่ 17 2022 แชมเปียนส์ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018)
  คีร์กีซสถาน 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม ซี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 16 2018 อันดับที่ 3 (2005)
  เวียดนาม 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม ดี ชนะเลิศ ครั้งที่ 7 2022 อันดับที่ 4 (2016)
  เกาหลีใต้ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม ดี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 15 2022 รองชนะเลิศ (1999)
  พม่า 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม อี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ ครั้งที่ 2 2018 รอบแบ่งกลุ่ม (4/4) (2018)
  ทาจิกิสถาน 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม อี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ ครั้งที่ 12 2022 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2007)
  คูเวต 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ ครั้งที่ 13 2022 อันดับที่ 4 (2003, 2014)
  บาห์เรน 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ ครั้งที่ 4 2022 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2018)
  อิรัก 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม จี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ ครั้งที่ 13 2022 อันดับที่ 4 (2018)
  อุซเบกิสถาน 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม จี ชนะเลิศ หรือ รองชนะเลิศ ครั้งที่ 17 2022 รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016)
  ญี่ปุ่น 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอช ชนะเลิศ ครั้งที่ 17 2022 แชมเปียนส์ (2006, 2012, 2014, 2022)
  ออสเตรเลีย 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอช รองชนะเลิศ ครั้งที่ 8 2016 อันดับที่ 4 (2012)
1 ตัวเอียง ระบุถึงเจ้าภาพในปีนั้น.

สนามแข่งขัน แก้

กรุงเทพมหานคร
บางกอกอารีนา
ความจุ: 12,000
 
อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
ความจุ: 8,000
 

ผู้เล่น แก้

การจับสลาก แก้

การจับสลากจะจัดขึ้นในวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2566.[4]

16 ทีมจะถูกจับสลากออกเป็นสี่กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม, โดยการจัดวางขึ้นอยู่กับผลงานของพวกเขาที่ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022.

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

กฏเกณฑ์

ทีมต่าง ๆ จะถูกจัดอันดับตามคะแนน (3 คะแนนสำหรับการชนะ, 1 คะแนนสำหรับการเสมอ, 0 คะแนนสำหรับการแพ้) และหากคะแนนเท่ากัน เกณฑ์ไทเบรกต่อไปนี้จะถูกนำมาใช้ตามเพื่อจัดอันดับ (กฎระเบียบ ข้อ 7.3)

  1. คะแนนใน เฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
  2. ผลต่างประตู ใน เฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ในระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
  3. ประตูที่ทำได้ในเฮด-ทู-เฮด แต่ละนัด ในระหว่างที่แต่ละทีมเสมอกัน;
  4. ถ้ามากกว่าสองทีมเสมอกัน, และหลังจากใช้เกณฑ์การพบกันทั้งหมดข้างต้นแล้ว, หนึ่งกลุ่มย่อยของแต่ละทีมยังคงเสมอกัน, เกณฑ์ เฮด-ทู-เฮด ทั้งหมดข้างต้นจะถูกนำไปใช้กับกลุ่มย่อยของแต่ละทีมนี้โดยเฉพาะ;
  5. ผลต่างประตูในแต่ละนัดทุกกลุ่มทั้งหมด;
  6. ประตูที่ทำได้ในแต่ละนัดทุกกลุ่มทั้งหมด;
  7. การดวลลูกโทษ ถ้าสองทีมเท่านั้นคือเสมอกันและพวกเขาพบกันในรอบสุดท้ายของกลุ่ม;
  8. คะแนนทางวินัย (ใบเหลือง = 1 คะแนน, ใบแดงอันเป็นผลมาจากใบเหลืองสองใบ = 3 คะแนน, ใบแดงโดยตรง = 3 คะแนน, ใบเหลืองตามด้วยใบแดงโดยตรง = 4 คะแนน);
  9. จำนวนนัดที่เสมอกันเป็นจำนวนมาก.

กลุ่ม เอ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ไทย (H) 3 3 0 0 10 2 +8 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   เวียดนาม 3 1 1 1 3 3 0 4
3   พม่า 3 1 1 1 4 7 −3 4
4   จีน 3 0 0 3 2 7 −5 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
(H) เจ้าภาพ.
เวียดนาม  1–1  พม่า
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Ebrahim Mehrabi Afshar (อิหร่าน)
ไทย  3–1  จีน
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Hiroyuki Kobayashi (ญี่ปุ่น)

จีน  0–1  เวียดนาม
รายงาน Nhan Gia Hưng   11'
ผู้ตัดสิน: Gelareh Nazemi Deylami (อิหร่าน)
พม่า  0–5  ไทย
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Nikita Afinogenov (อุซเบกิสถาน)

ไทย  2–1  เวียดนาม
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Eisa Abdulhoussain (คูเวต)
พม่า  3–1  จีน
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Wahyu Wicaksono (อินโดนีเซีย)

กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อุซเบกิสถาน 3 3 0 0 10 4 +6 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   อิรัก 3 2 0 1 12 7 +5 6
3   ซาอุดีอาระเบีย 3 1 0 2 6 10 −4 3
4   ออสเตรเลีย 3 0 0 3 6 13 −7 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
อุซเบกิสถาน  3–2  ออสเตรเลีย
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Eisa Abdulhoussain (คูเวต)
ซาอุดีอาระเบีย  1–5  อิรัก
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: พรณรงค์ ไกรรอด (ไทย)

ออสเตรเลีย  2–4  ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: An Ran (จีน)
อิรัก  1–4  อุซเบกิสถาน
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Husain Al-Bahhar (บาห์เรน)

อุซเบกิสถาน  3–1  ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Fahad Al-Hosani (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
อิรัก  6–2  ออสเตรเลีย
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Ebrahim Mehrabiafshar (อิหร่าน)

กลุ่ม ซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ทาจิกิสถาน 3 1 2 0 2 0 +2 5 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   คีร์กีซสถาน 3 1 2 0 3 2 +1 5
3   ญี่ปุ่น 3 1 1 1 2 3 −1 4
4   เกาหลีใต้ 3 0 1 2 0 2 −2 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
ทาจิกิสถาน  2–0  เกาหลีใต้
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Hassan Al-Gburi (อิรัก)
ญี่ปุ่น  2–3  คีร์กีซสถาน
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Andrew Best (ออสเตรเลีย)

คีร์กีซสถาน  2–2  ทาจิกิสถาน
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Abdulaziz Al-Sarraf (คูเวต)
เกาหลีใต้  0–5  ญี่ปุ่น
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Zari Fathi (อิหร่าน)

ญี่ปุ่น  1–1  ทาจิกิสถาน
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Trương Quốc Dũng (เวียดนาม)
เกาหลีใต้  5–5  คีร์กีซสถาน
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Lee Po-fu (จีนไทเป)

กลุ่ม ดี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิหร่าน 3 3 0 0 12 4 +8 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2   อัฟกานิสถาน 3 1 1 1 7 8 −1 4
3   คูเวต 3 1 1 1 5 8 −3 4
4   บาห์เรน 3 0 0 3 6 10 −4 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
อิหร่าน  3–1  อัฟกานิสถาน
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Fahad Al-Hosani (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

อัฟกานิสถาน  3–3  คูเวต
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Ryan Shepheard (ออสเตรเลีย)
บาห์เรน  3–5  อิหร่าน
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Liu Jianqiao (จีน)

อิหร่าน  4–0  คูเวต
รายงาน
ผู้ตัดสิน: เบญจพล หมู่เจริญทรัพย์ (ไทย)
บาห์เรน  2–3  อัฟกานิสถาน
รายงาน
บางกอกอารีนา, กรุงเทพมหานคร
ผู้ตัดสิน: Andrew Best (ออสเตรเลีย)

รอบแพ้คัดออก แก้

สายการแข่งขัน แก้

 
รอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
 
  ไทย 3
 
26 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
  อิรัก 2
 
  ไทย
(ลูกโทษ)
3(6)
 
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
  ทาจิกิสถาน 3(5)
 
  ทาจิกิสถาน
(ต่อเวลา)
2
 
28 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
  อัฟกานิสถาน 1
 
  ไทย 1
 
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
  อิหร่าน 4
 
  อุซเบกิสถาน 2
 
26 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
  เวียดนาม 1
 
  อุซเบกิสถาน 3(4)
 
24 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก)
 
  อิหร่าน
(ลูกโทษ)
3(5) นัดชิงอันดับที่ 3
 
  อิหร่าน 6
 
28 เมษายน – กรุงเทพมหานคร (อารีนา)
 
  คีร์กีซสถาน 1
 
  ทาจิกิสถาน 5(1)
 
 
  อุซเบกิสถาน
(ลูกโทษ)
5(3)
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ แก้

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์เข้าไปสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2024. ในกรณีที่อุซเบกิสถานเป็นหนึ่งในนั้น, ทีมที่แพ้ที่มีอันดับดีที่สุดก็จะได้ผ่านเข้ารอบเช่นกัน.




รอบรองชนะเลิศ แก้


เพลย์ออฟนัดชิงอันดับที่ 3 แก้

รอบชิงชนะเลิศ แก้

ผู้ทำประตู แก้

มีการทำประตูทั้งหมด 177 ประตู จากการแข่งขัน 35 นัด เฉลี่ย 5.06 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน ประตูใน รอบเพลย์ออฟ สำหรับเข้าร่วม ฟุตซอลโลก 2024 รวมอยู่ด้วย แต่ไม่ได้รับการพิจารณาเป็นผู้ทำประตูสูงสุด


การทำประตู 8 ครั้ง

การทำประตู 5 ครั้ง

การทำประตู 4 ครั้ง

การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

รอบเพลย์ออฟ แก้

การแข่งขันรอบเพลย์ออฟขึ้นอยู่กับผลงานของ อุซเบกิสถาน ซึ่งผ่านเข้ารอบโดยอัตโนมัติสำหรับ ฟุตซอลโลก 2024 ในฐานะเจ้าภาพโดยอัตโนมัติ อุซเบกิสถานผ่านเข้าสู่รอบ รอบรองชนะเลิศ ดังนั้นรูปแบบเพลย์ออฟจึงจัดขึ้นเพื่อให้ผู้แพ้รอบก่อนรองชนะเลิศที่เหลืออีกสี่ทีมได้เล่นเพลย์ออฟแบบคัดออกครั้งเดียว ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ 3 จะผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลกฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2024

ในรอบเพลย์ออฟ การต่อเวลาพิเศษ และ การยิงจุดโทษ จะถูกใช้ในการตัดสินผู้ชนะหากจำเป็น (ข้อบังคับข้อ 10) .[2]

สายการแข่งขัน แก้

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
26 เมษายน – อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก
 
 
  อิรัก 3
 
28 เมษายน – บางกอกอารีนา
 
  อัฟกานิสถาน 5
 
  อัฟกานิสถาน 5
 
26 เมษายน – บางกอกอารีนา
 
  คีร์กีซสถาน 3
 
  เวียดนาม 2
 
 
  คีร์กีซสถาน 3
 

รอบรองชนะเลิศ แก้

อิรัก  3–5  อัฟกานิสถาน
รายงาน

เวียดนาม  2–3  คีร์กีซสถาน
รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ แก้

ผู้ชนะจะมีสิทธิ์เข้าร่วม ฟุตซอลโลก 2024

  อัฟกานิสถาน5–3  คีร์กีซสถาน
รายงาน

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตซอลโลก แก้

ห้าทีมด้านล่างนี้ที่มาจากเอเอฟซีได้สิทธิ์เข้าไปสำหรับ ฟุตซอลโลก 2024 ร่วมกับเจ้าภาพ อุซเบกิสถาน.

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ การลงสนามครั้งที่ผ่านมาในทัวร์นาเมนต์1
  อุซเบกิสถาน 23 มิถุนายน 2566[6] 2 (2016, 2021)
  ทาจิกิสถาน 24 เมษายน 2567 0 (ครั้งแรก)
  อิหร่าน 24 เมษายน 2567 8 (1992, 1996, 2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2021)
  ไทย 24 เมษายน 2567 6 (2000, 2004, 2008, 2012, 2016, 2021)
  อัฟกานิสถาน 28 เมษายน 2567 0 (ครั้งแรก)

อ้างอิง แก้

  1. "AFC rebrands age group championships to AFC Asian Cups". AFC. 2 ตุลาคม 2020.
  2. 2.0 2.1 "AFC Futsal Asian Cup 2024 Competition Regulations" (PDF). Asian Football Confederation. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 กันยายน 2023.
  3. 3.0 3.1 "Thailand recommended as host for the AFC Futsal Asian Cup™ 2024". the-AFC. Asian Football Confederation. 5 กันยายน 2023. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2023.
  4. "Asian Football Calendar (Oct 2023 – Sep 2024)". the-afc. Asian Football Confederation. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2023.
  5. "AFC Futsal Asian Cup Thailand 2024 Match Schedule" (PDF). Asian Football Confederation. สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2024.
  6. "Uzbekistan to host the FIFA Futsal World Cup 2024". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 23 มิถุนายน 2023. สืบค้นเมื่อ 23 มิถุนายน 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้