ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024 รอบคัดเลือก

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024 รอบคัดเลือก เป็นขั้นตอนการคัดเลือกที่จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ที่จะกำหนดหาทีมที่เข้าร่วมสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024, ครั้งที่ 17 ของการแข่งขันฟุตซอลชายระดับนานาชาติของทวีปเอเชีย.

ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย รอบคัดเลือก 2024
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ ไทย (กลุ่ม เอ)
ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย (กลุ่ม บี)
ธงของประเทศคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน (กลุ่ม ซี)
ธงของประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย (กลุ่ม ดี)
ธงของประเทศทาจิกิสถาน ทาจิกิสถาน (กลุ่ม อี)
ธงของประเทศบาห์เรน บาห์เรน (กลุ่ม เอฟ)
ธงของประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน (กลุ่ม จี)
ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน (กลุ่ม เอช)
วันที่7–13 ตุลาคม 2566
ทีม30 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน43
จำนวนประตู303 (7.05 ประตูต่อนัด)
2022
2026

ทั้งหมด 16 ทีมได้สิทธิ์ที่จะเล่นในรอบสุดท้าย.

การจับสลาก แก้

31 ทีมจะเข้าร่วมในรอบคัดเลือก. การจัดทีมวางอันดับขึ้นอยู่กับผลงานของ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2022 และทีมที่ไม่ได้เข้าร่วมจะถูกเพิ่มเป็นทีมที่มีอันดับต่ำที่สุด.[1] การจับสลากได้จัดขึ้นในวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ที่ เอเอฟซี เฮ้าส์ ในกรุง กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย.[2]

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
Host pot
Remaining teams
ไม่ได้เข้าร่วม
หมายเหตุ
  • ทีมที่อยู่ใน ตัวหนา เข้ารอบสำหรับทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้าย.
  • (H): เจ้าภาพกลุ่มรอบคัดเลือกถูกกำหนดก่อนการจับสลาก
  • (H)*: เจ้าภาพกลุ่มรอบคัดเลือกถูกกำหนดหลังการจับสลาก
  • (Q): เจ้าภาพรอบสุดท้าย, เข้ารอบโดยอัตโนมัติโดยไม่คำนึงถึงผลการแข่งขัน
  • (W): ถอนทีมหลังการจับสลาก
  • (X): ถอนทีม

กลุ่ม แก้

กลุ่ม เอ แก้

  • แมตช์ทั้งหมดจัดขึ้นใน หนองจอก, ประเทศไทย.
  • เวลาที่ระบุไว้คือ UTC+7.
  • ประเทศไทยได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายในฐานะประเทศเจ้าภาพแล้ว, ดังนั้นแมตช์การแข่งขันจะไม่ถูกนำมาพิจารณาเมื่อคำนวณอันดับในกลุ่ม.
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   จีน 2 2 0 0 11 2 +9 6 รอบสุดท้าย
2   ฮ่องกง 2 0 0 2 2 11 −9 0
3   เติร์กเมนิสถาน 0 0 0 0 0 0 0 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการคัดเลือก

ฮ่องกง  0–6  จีน
รายงาน


กลุ่ม บี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อัฟกานิสถาน 3 2 1 0 28 11 +17 7 รอบสุดท้าย
2   ซาอุดีอาระเบีย (H) 3 2 0 1 14 5 +9 6
3   อินโดนีเซีย 3 1 1 1 21 10 +11 4
4   มาเก๊า 3 0 0 3 2 39 −37 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2566. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
อินโดนีเซีย  12–0  มาเก๊า
  • Antonio   3' (เข้าประตูตัวเอง)
  • Runtuboy   4'37'
  • Syauqi   16'18'39'
  • Alfajri   17'
  • Samuel   23'
  • So Ka Chon   28' (เข้าประตูตัวเอง)
  • Soumilena   34',   39',   39'
รายงาน
กรีน ฮอลล์, อัดดัมมาม
ผู้ตัดสิน: Zhu Xin (จีน)
ซาอุดีอาระเบีย  2–3  อัฟกานิสถาน
รายงาน
กรีน ฮอลล์, อัดดัมมาม

มาเก๊า  0–9  ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน
กรีน ฮอลล์, อัดดัมมาม
อัฟกานิสถาน  7–7  อินโดนีเซีย
รายงาน
  • Samuel Eko   7'28'36'
  • Rio Pangestu   20'
  • Hossaini   36' (เข้าประตูตัวเอง)
  • Runtuboy   39'
  • Ardiansyah Nur   40'
กรีน ฮอลล์, อัดดัมมาม

อินโดนีเซีย  2–3  ซาอุดีอาระเบีย
กรีน ฮอลล์, อัดดัมมาม
อัฟกานิสถาน  18–2  มาเก๊า
รายงาน
กรีน ฮอลล์, อัดดัมมาม

กลุ่ม ซี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อิหร่าน 3 3 0 0 34 4 +30 9 รอบสุดท้าย
2   คีร์กีซสถาน (H) 3 2 0 1 15 17 −2 6
3   เลบานอน 3 1 0 2 10 12 −2 3
4   มัลดีฟส์ 3 0 0 3 6 32 −26 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
อิหร่าน  18–2  มัลดีฟส์
รายงาน
บิชเคก อารีนา, บิชเคก
เลบานอน  4–5  คีร์กีซสถาน
รายงาน
บิชเคก อารีนา, บิชเคก

มัลดีฟส์  1–6  เลบานอน
รายงาน
บิชเคก อารีนา, บิชเคก
คีร์กีซสถาน  2–10  อิหร่าน
รายงาน
บิชเคก อารีนา, บิชเคก

อิหร่าน  6–0  เลบานอน
รายงาน
บิชเคก อารีนา, บิชเคก
คีร์กีซสถาน  8–3  มัลดีฟส์
รายงาน
บิชเคก อารีนา, บิชเคก

กลุ่ม ดี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   เวียดนาม 3 3 0 0 16 3 +13 9 รอบสุดท้าย
2   เกาหลีใต้ 3 2 0 1 13 7 +6 6
3   เนปาล 3 0 1 2 2 11 −9 1
4   มองโกเลีย (H) 3 0 1 2 3 13 −10 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.


กลุ่ม อี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ทาจิกิสถาน (H) 3 3 0 0 15 4 +11 9 รอบสุดท้าย
2   พม่า 3 2 0 1 7 6 +1 6
3   ปาเลสไตน์ 3 1 0 2 8 13 −5 3
4   อินเดีย 3 0 0 3 10 17 −7 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
พม่า  2–1  ปาเลสไตน์
รายงาน
ดูชานเบ อินดอร์ ฮอลล์, ดูชานเบ
ทาจิกิสถาน  6–3  อินเดีย
รายงาน
ดูชานเบ อินดอร์ ฮอลล์, ดูชานเบ

อินเดีย  2–5  พม่า
รายงาน
ดูชานเบ อินดอร์ ฮอลล์, ดูชานเบ
ปาเลสไตน์  1–6  ทาจิกิสถาน
รายงาน
ดูชานเบ อินดอร์ ฮอลล์, ดูชานเบ

ทาจิกิสถาน  3–0  พม่า
รายงาน
ดูชานเบ อินดอร์ ฮอลล์, ดูชานเบ
ปาเลสไตน์  6–5  อินเดีย
รายงาน
ดูชานเบ อินดอร์ ฮอลล์, ดูชานเบ

กลุ่ม เอฟ แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   คูเวต 3 3 0 0 17 6 +11 9 รอบสุดท้าย
2   บาห์เรน (H) 3 2 0 1 10 6 +4 6
3   ติมอร์-เลสเต 3 1 0 2 9 9 0 3
4   บรูไน 3 0 0 3 3 18 −15 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
คูเวต  4–2  บรูไน
รายงาน
  • Abdul Malik Yunus   17'
  • Mohd Fardi Farhan   25'
เคาะลีเฟาะฮ์ สปอร์ตส์ ซิตี ฮอลล์, อิซา ทาวน์
บาห์เรน  1–0  ติมอร์-เลสเต
  • Mahfoodh   39'
รายงาน
เคาะลีเฟาะฮ์ สปอร์ตส์ ซิตี ฮอลล์, อิซา ทาวน์

ติมอร์-เลสเต  1–8  คูเวต
รายงาน
เคาะลีเฟาะฮ์ สปอร์ตส์ ซิตี ฮอลล์, อิซา ทาวน์
บรูไน  1–6  บาห์เรน
  • Alsandi   14' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน
เคาะลีเฟาะฮ์ สปอร์ตส์ ซิตี ฮอลล์, อิซา ทาวน์

คูเวต  5–3  บาห์เรน
เคาะลีเฟาะฮ์ สปอร์ตส์ ซิตี ฮอลล์, อิซา ทาวน์
ติมอร์-เลสเต  8–0  บรูไน
เคาะลีเฟาะฮ์ สปอร์ตส์ ซิตี ฮอลล์, อิซา ทาวน์

กลุ่ม จี แก้

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   อุซเบกิสถาน (H) 3 3 0 0 13 5 +8 9 รอบสุดท้าย
2   อิรัก 3 2 0 1 10 4 +6 6
3   มาเลเซีย 3 1 0 2 9 8 +1 3
4   กัมพูชา 3 0 0 3 3 18 −15 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566. แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.
อิรัก  2–1  มาเลเซีย
รายงาน
ซาโม สปอร์ตส์ คอมเพล็กซ์, เฟอร์กานา
อุซเบกิสถาน  6–1  กัมพูชา
รายงาน
ซาโม สปอร์ตส์ คอมเพล็กซ์, เฟอร์กานา

กัมพูชา  0–7  อิรัก
รายงาน
ซาโม สปอร์ตส์ คอมเพล็กซ์, เฟอร์กานา
มาเลเซีย  3–4  อุซเบกิสถาน
รายงาน
ซาโม สปอร์ตส์ คอมเพล็กซ์, เฟอร์กานา

อุซเบกิสถาน  3–1  อิรัก
ซาโม สปอร์ตส์ คอมเพล็กซ์, เฟอร์กานา
มาเลเซีย  5–2  กัมพูชา
ซาโม สปอร์ตส์ คอมเพล็กซ์, เฟอร์กานา

กลุ่ม เอช แก้


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1   ญี่ปุ่น 2 2 0 0 7 0 +7 6 รอบสุดท้าย
2   ออสเตรเลีย 2 1 0 1 3 6 −3 3
3   จีนไทเป (H) 2 0 0 2 2 6 −4 0
นัดแรกจะแข่งขันในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2566 แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขการคัดเลือก
(H) เจ้าภาพ.




ผู้ทำประตู แก้

มีการทำประตู 296 ประตู จากการแข่งขัน 42 นัด เฉลี่ย 7.05 ประตูต่อนัด



4 ประตู แก้

3 ประตู แก้

2 ประตู แก้

1 ประตู แก้

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

ทีมด้านล่างนี้ ได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสำหรับ ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย 2024.

ทีม เข้ารอบในฐานะ วันที่ผ่านเข้ารอบ จำนวนครั้งที่ได้เข้าร่วม ผลงานล่าสุด ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
  ไทย 5 กันยายน พ.ศ. 2566[3] เจ้าภาพ ครั้งที่ 17 2022 รองชนะเลิศ (2008, 2012)
  จีน 13 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอ ชนะเลิศ ครั้งที่ 13 2018 อันดับที่ 4 (2008, 2010)
  อัฟกานิสถาน 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม บี ชนะเลิศ ครั้งที่ 1 ไม่เคย ครั้งแรก
  ซาอุดีอาระเบีย 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม บี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 3 2022 รอบแบ่งกลุ่ม (2018, 2022 )
  อิหร่าน 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม ซี ชนะเลิศ ครั้งที่ 17 2022 แชมเปียนส์ (1999, 2000, 2001, 2002, 2003, 2004, 2005, 2007, 2008, 2010, 2016, 2018)
  คีร์กีซสถาน 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม ซี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 16 2018 อันดับที่ 3 (2005)
  เวียดนาม 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม ดี ชนะเลิศ ครั้งที่ 7 2022 อันดับที่ 4 (2016)
  เกาหลีใต้ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม ดี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 15 2022 รองชนะเลิศ (1999)
  ทาจิกิสถาน 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม อี ชนะเลิศ ครั้งที่ 12 2022 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2007)
  พม่า 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม อี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 2 2018 รอบแบ่งกลุ่ม (2018)
  คูเวต 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ ครั้งที่ 13 2022 อันดับที่ 4 (2003, 2014)
  บาห์เรน 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอฟ รองชนะเลิศ ครั้งที่ 4 2022 รอบก่อนรองชนะเลิศ (2018)
  อุซเบกิสถาน 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม จี ชนะเลิศ ครั้งที่ 17 2022 รองชนะเลิศ (2001, 2006, 2010, 2016)
  อิรัก 9 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม จี รองชนะเลิศ ครั้งที่ 13 2022 อันดับที่ 4 (2018)
  ญี่ปุ่น 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอช ชนะเลิศ ครั้งที่ 17 2022 แชมเปียนส์ (2006, 2012, 2014, 2022)
  ออสเตรเลีย 11 ตุลาคม พ.ศ. 2566 กลุ่ม เอช รองชนะเลิศ ครั้งที่ 8 2016 อันดับที่ 4 (2012)

อ้างอิง แก้

  1. "Teams set to discover AFC Futsal Asian Cup™ 2024 Qualifiers journey". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-06-22.
  2. "2024 Qualifiers groups finalised". the-AFC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2023-06-22.
  3. "Thailand recommended as host for the AFC Futsal Asian Cup™ 2024". Asian Football Confederation official website. 5 September 2023.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้