ฟูจิวาระ โนะ โยชิฟูซะ

(เปลี่ยนทางจาก ฟุจิวะระ โนะ โยะชิฟุซะ)

ฟูจิวาระ โนะ โยชิฟูซะ (ญี่ปุ่น: 藤原 良房โรมาจิFujiwara no Yoshifusa; ค.ศ. 804 – 7 ตุลาคม 872) หรือที่รู้จักกันในชื่อ โซเมโดโนะ โนะ ไดจิง หรือ ชิรากาวะ-โดโนะ เป็นรัฐบุรุษ ข้าราชสำนัก และนักการเมืองชาวญี่ปุ่นในยุคเฮอัง[1]

ฟูจิวาระ โนะ โยชิฟูซะ
ภาพวาดของโยชิฟูซะโดยคิคุชิ โยไซ
เกิดค.ศ. 804
ถึงแก่กรรม7 ตุลาคม ค.ศ. 872
ตระกูลฟุจิวะระ
คู่สมรสมินะโมะโตะ โนะ คิโยะฮิเมะ
บุตร-ธิดาฟุจิวะระ โนะ โมะโตะสึเนะ (บุตรบุญธรรม)
บิดาฟุจิวะระ โนะ ฟุยุสึงุ

เมื่อหลานชายของเขาได้ขึ้นสืบราชบัลลังก์เป็นจักรพรรดิเซวะ พระองค์ก็ได้แต่งตั้งโยะชิฟุซะซึ่งเป็นพระอัยกา (ตา) เป็นเซ็สโซ ซึ่งเป็นตำแหน่งผู้สำเร็จราชการสำหรับจักรพรรดิที่ยังเยาว์อยู่ซึ่งเขานับเป็นเซ็สโซคนแรกในประวัติศาสตร์ที่ไม่ใช่เชื้อพระวงศ์และนับเป็นผู้สำเร็จราชการคนแรกที่มาจากตระกูลฟูจิวาระ[1]

อาชีพ แก้

เขาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีในรัชสมัยจักรพรรดินิมเมียว จักรพรรดิมนโตกุ และจักรพรรดิเซวะ[1]

พงศาวลี แก้

เขาอยู่ในตระกูลฟูจิวาระ โดยเป็นบุตรของฟูจิวาระ โนะ ฟูยุตสึงุ[1] พี่/น้องชายของโยชิฟูซะได้แก่ ฟูจิวาระ โนะ นางาโยชิ,[6] ฟูจิวาระ โนะ โยชิซูเกะ[7] และฟูจิวาระ โนะ โยชิกาโดะ[8]

ครอบครัว แก้

เขาแต่งงานกับมินาโมโตะ โนะ คิโยฮิเมะ (源 潔姫) พระราชธิดาในจักรพรรดิซางะ ทั้งคู่มีลูกสาวคนเดียว

เขารับเลี้ยงลูกชายตนที่สามของนางาระ ผู้เป็นพี่/น้องชาย

โยชิฟูซะได้รับการเรียกขานเป็น ชูจิงโค (忠仁公) (ตำแหน่งหลังเสียชีวิตคือไดโจไดจิง)

อ้างอิง แก้

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Nussbaum, Louis-Frédéric. (2005). "Fujiwara no Nakahira" in Japan Encyclopedia, p. 212, p. 212, ที่ Google Books; Brinkley, Frank et al. (1915). A History of the Japanese People from the Earliest Times to the End of the Meiji Era, p. 203., p. 203, ที่ Google Books
  2. Titsingh, Isaac. (1834). Annales des empereurs du japon, p. 135., p. 135, ที่ Google Books; see "Fousiwara-no Yosi fousa", pre-Hepburn romanization
  3. Titsingh, p. 114., p. 114, ที่ Google Books; Brown, Delmer et al. (1979). The Future and the Past, p. 285; n.b., Yoshifusa was the first minister to be promoted to Daijō-daijin. That high office was previously filled by Imperial Princes only.
  4. Brown, p. 286.
  5. Titsingh, p. 120., p. 120, ที่ Google Books.
  6. Brinkley, p. 203., p. 203, ที่ Google Books
  7. Titsingh, p. 114., p. 114, ที่ Google Books
  8. Florenz, Karl. (1906) Geschichte der japanischen Litteratur, Vols. 1-2, p. 208., p. 208, ที่ Google Books

ข้อมูล แก้

  • Brinkley, Frank and Dairoku Kikuchi. (1915). A History of the Japanese People from the Earliest Times to the End of the Meiji Era. New York: Encyclopædia Britannica. OCLC 413099
  • Brown, Delmer M. and Ichirō Ishida, eds. (1979). Gukanshō: The Future and the Past. Berkeley: University of California Press. ISBN 978-0-520-03460-0; OCLC 251325323
  • (ในภาษาญี่ปุ่น) Hioki, S. (1990). Nihon Keifu Sōran. Tokyo: Kōdansya.
  • (ในภาษาญี่ปุ่น) Kasai, M. (1991). Kugyō Bunin Nenpyō. Tokyo: Yamakawa Shuppan-sha
  • (ในภาษาญี่ปุ่น) Kodama, K. (1978). Nihon-shi Shō-jiten, Tennō. Tokyo: Kondō Shuppan-sha.
  • Nussbaum, Louis-Frédéric and Käthe Roth. (2005). Japan encyclopedia. Cambridge: Harvard University Press. ISBN 978-0-674-01753-5; OCLC 58053128
  • (ในภาษาญี่ปุ่น) Owada, T. et al. (2003). Nihonshi Shoka Keizu Jimmei Jiten. Tokyo: Kōdansya.
  • Titsingh, Isaac. (1834). Nihon Odai Ichiran; ou, Annales des empereurs du Japon. Paris: Royal Asiatic Society, Oriental Translation Fund of Great Britain and Ireland. OCLC 5850691