วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 (อังกฤษ: 2017 FIVB Volleyball Women's U23 World Championship) จะจัดขึ้นเป็นครั้งที่ 3 ของการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ และเป็นการแข่งขันชิงแชมป์โลกสำหรับทีมชาติที่มีอายุไม่เกิน 23 ปี อยู่ภายใต้การกำกับของสหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ การแข่งขันจะจัดขึ้นที่สโลวีเนียในเมืองลูบลิยานาและมารีบอร์ ระหว่างวันที่ 10–17 กันยายน ค.ศ. 2017[1] คาดว่าจะมี 12 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017
รายละเอียด
ประเทศเจ้าภาพธงของประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย
วันที่10–17 กันยายน
ทีม12
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
Official website

การคัดเลือก แก้

สหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ อนุญาตให้มีทีมเข้าร่วมการแข่งขันได้ทั้งหมดทวีปละ 2 ทีม โดยการคัดเลือกจากการแข่งขันชิงแชมป์ทวีป[2]

วิธีการคัดเลือก วันที่ สนามแข่งขัน จำนวน ประเทศที่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศเจ้าภาพ 2 กุมภาพันธ์ 2016   โลซาน 1   สโลวีเนีย
รอบคัดเลือกโซนยุโรป 27–31 กรกฎาคม 2016   วรญาชกา บาญา 2   ตุรกี
  อิตาลี
ชิงแชมป์อเมริกาใต้ 2016 27–31 กรกฎาคม 2016   ลิมา 1   บราซิล
แพน-อเมริกันคัพ 2016 อเมริกาใต้ 19–25 กันยายน 2016 1   อาร์เจนตินา
นอร์เซกา 2   สหรัฐ
  สาธารณรัฐโดมินิกัน
ชิงแชมป์แอฟริกา 2016 23–27 ตุลาคม 2016   คาซารานี 2   อียิปต์
  เคนยา
ชิงแชมป์เอเชีย 2017 13–21 พฤษภาคม 2017   นครราชสีมา 2   ไทย
  ญี่ปุ่น
อันดับโลกเอฟไอวีบี[3] ณ 1 มกราคม 2017   โลซาน 1   จีน
รวม 12

การแบ่งกลุ่ม แก้

การแบ่งสายของแต่ละกลุ่มโดยวิธีสลับฟันปลาอันดับโลกเอฟไอวีบี U23[3] ตัวเลขในวงกลมหมายถึงอันดับโลก ยกเว้นเจ้าภาพอันดับที่ 27

กลุ่มA กลุ่มB
  สโลวีเนีย (เจ้าภาพ)   บราซิล (1)
  สาธารณรัฐโดมินิกัน (3)   ญี่ปุ่น (5)
  จีน (4)   ตุรกี (2)
  อียิปต์ (10)   บัลแกเรีย (7)
  อาร์เจนตินา (16)   คิวบา (12)
  ไทย (8)   เคนยา (13)

สนามการแข่งขัน แก้

การทดสอบกฎใหม่ แก้

วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 จะเป็นรายการที่ใช้ในการทดสอบการนับคะแนนแบบใหม่ที่สหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศกำลังพิจารณาอยู่ หากครั้งนี้ประสบความสำเร็จ อาจเป็นจุดผกผันที่เป็นประวัติศาสตร์ เหมือนกันการเริ่มนำระบบการนับคะแนนแบบแรลลี่มาใช้ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1990

การแข่งขันในหนึ่งแมตช์จะนับผลดีที่สุดของ 7 เซต เซตละ 15 คะแนน (รวมทั้งมีคะแนนมากกว่าฝ่ายตรงข้าม 2 คะแนนด้วย) แมทช์ที่มีผลการแข่งขัน 4-0, 4-1 หรือ 4-2 เซต จะได้คะแนนสะสม 3 คะแนน ส่วนแมทช์ที่มีผลการแข่งขัน 4-3 เซต ทีมชนะได้ 2 คะแนน ส่วนทีมแพ้ได้ 1 คะแนน

การพักระหว่างเซต 2 นาที (เดิม 3 นาที) ไม่มีเวลานอกทางเทคนิค แต่ยังคงสิทธิการขอเวลานอกฝ่ายละ 2 ครั้ง ครั้งละ 30 วินาที

การเปลี่ยนแดน หลังเซตที่ 2, 4, 5 และ 6

รอบแบ่งกลุ่ม แก้

  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น UTC+01:00 (ช้ากว่าไทย 5 ชั่วโมง)
ผ่านเข้ารอบรองชนะเลิศ
ผ่านเข้ารอบจัดอันดับ 5–8

กลุ่ม A แก้

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   ไทย 5 0 15 20 2 10.000 331 230 1.439
2   สโลวีเนีย 3 2 9 16 13 1.231 429 390 1.100
3   สาธารณรัฐโดมินิกัน 3 2 9 12 12 1.000 302 304 0.993
4   จีน 2 3 5 10 17 0.588 332 364 0.912
5   อียิปต์ 1 4 4 12 18 0.667 354 415 0.853
6   อาร์เจนตินา 1 4 3 11 19 0.579 390 435 0.897
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 เซต 6 เซต 7 รวม รายงาน
10 ก.ย. 14:00 สโลวีเนีย   4–2   อียิปต์ 15–12 15–6 15–8 15–12 15–17 19–17   91–75 Report
10 ก.ย. 17:00 ไทย   4–0   อาร์เจนตินา 15–11 15–10 15–10 15–8       60–39 Report
10 ก.ย. 20:00 สาธารณรัฐโดมินิกัน   4–0   จีน 15–11 15–6 15–11 15–12       60–40 Report
11 ก.ย. 14:00 จีน   4–2   อาร์เจนตินา 11–15 15–9 15–10 15–12 13–15 15–10   84–64 Report
11 ก.ย. 17:00 สาธารณรัฐโดมินิกัน   4–2   อียิปต์ 10–15 15–11 12–15 15–10 15–7 15–7   82–65 Report
11 ก.ย. 20:00 ไทย   4–1   สโลวีเนีย 15–11 15–9 11–15 19–17 15–11     74–63 Report
12 ก.ย. 14:00 สโลวีเนีย   4–3   อาร์เจนตินา 21–23 12–15 15–12 17–15 16–14 20–22 15–5 116–106 Report
12 ก.ย. 17:00 ไทย   4–0   สาธารณรัฐโดมินิกัน 15–11 15–12 15–5 15–8       60–36 Report
12 ก.ย. 20:00 จีน   2–4   อียิปต์ 9–15 15–7 11–15 15–9 14–16 4–15   68–77 Report
14 ก.ย. 14:00 อียิปต์   3–4   อาร์เจนตินา 10–15 6–15 14–16 16–14 15–13 15–11 11–15 87–99 Report
14 ก.ย. 17:00 ไทย   4–0   จีน 15–8 16–14 15–10 15–10       61–42 Report
14 ก.ย. 20:00 สโลวีเนีย   4–0   สาธารณรัฐโดมินิกัน 15–10 15–13 15–3 15–10       60–36 Report
15 ก.ย. 14:00 สาธารณรัฐโดมินิกัน   4–2   อาร์เจนตินา 11–15 13–15 15–8 15–11 18–16 16–14   88–79 Report
15 ก.ย. 17:00 สโลวีเนีย   3–4   จีน 15–9 15–12 12–15 15–11 12-15 11-15 19-21 100–98 Report
15 ก.ย. 20:00 ไทย   4–1   อียิปต์ 15–5 15–17 15–10 15–10 15–8     75–50 Report

กลุ่ม B แก้

แข่ง แต้ม เซต แต้ม
อันดับ ทีม ชนะ แพ้ ชนะ แพ้ อัตราส่วน ชนะ แพ้ อัตราส่วน
1   ตุรกี 4 1 12 16 6 2.667 310 254 1.220
2   บัลแกเรีย 4 1 11 17 9 1.889 358 292 1.226
3   บราซิล 3 2 9 13 9 1.444 302 271 1.114
4   คิวบา 2 3 7 11 13 0.846 307 320 0.959
5   ญี่ปุ่น 2 3 6 12 12 1.000 313 306 1.023
6   เคนยา 0 5 0 0 20 0.000 153 300 0.510
วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 เซต 6 เซต 7 รวม รายงาน
10 ก.ย. 14:00 บราซิล   4–0   เคนยา 15–2 15–5 15–11 15–10       60–28 Report
10 ก.ย. 17:00 ตุรกี   4–0   คิวบา 15–12 15–14 17–15 15–8       63–49 Report
10 ก.ย. 20:00 ญี่ปุ่น   2–4   บัลแกเรีย 13–15 15–13 15–11 13–15 12–15 11–15   79–84 Report
11 ก.ย. 14:00 บัลแกเรีย   4–0   เคนยา 15–1 15–5 15–6 15–11       60–23 Report
11 ก.ย. 17:00 ญี่ปุ่น   4–0   คิวบา 15–12 15–12 15–7 15–13       60–44 Report
11 ก.ย. 20:00 บราซิล   4–0   ตุรกี 17–15 15–12 15–6 15–12       62–45 Report
12 ก.ย. 14:00 ตุรกี   4–0   เคนยา 15–6 15–5 15–12 15–11       60–34 Report
12 ก.ย. 17:00 บราซิล   4–1   ญี่ปุ่น 14–16 15–13 15–11 17–15 15–10     76–65 Report
12 ก.ย. 20:00 บัลแกเรีย   4–3   คิวบา 10–15 12–15 11–15 15–10 15–10 15–11 15–6 93–82 Report
14 ก.ย. 14:00 คิวบา   4–0   เคนยา 15–9 15–10 15–7 15–12       60–38 Report
14 ก.ย. 17:00 บราซิล   0–4   บัลแกเรีย 10–15 5–15 14–16 9–15       38–61 Report
14 ก.ย. 20:00 ตุรกี   4–1   ญี่ปุ่น 15–12 15–5 15–9 12–15 15–8     72–49 Report
15 ก.ย. 14:00 ญี่ปุ่น   4–0   เคนยา 15–7 15–8 15–6 15–9       60–30 Report
15 ก.ย. 17:00 ตุรกี   4–1   บัลแกเรีย 15–9 15–12 15–11 10–15 15–13     70–60 Report
15 ก.ย. 20:00 บราซิล   1–4   คิวบา 12–15 15–9 10–15 15–17 14–16     66–72 Report

รอบสุดท้าย แก้

  • เวลาในตารางการแข่งขันเป็นเวลาท้องถิ่น UTC+01:00 (ช้ากว่าไทย 5 ชั่วโมง)

รอบจัดอันดับ 5–8 แก้

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 5
16 กันยายน
   จีน  1  
   สาธารณรัฐโดมินิกัน  4  
 
17 กันยายน
       สาธารณรัฐโดมินิกัน  4
     บราซิล  0
รอบชิงอันดับที่ 7
16 กันยายน 17 กันยายน
   บราซิล  4    คิวบา  4
   คิวบา  0      จีน  2

รอบจัดอันดับ 5–8 แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 เซต 6 เซต 7 รวม รายงาน
16 ก.ย. 15:30 จีน   1–4   สาธารณรัฐโดมินิกัน 14–16 15–6 10–15 10–15 16–18     65–70  
16 ก.ย. 18:30 บราซิล   4–0   คิวบา 18–16 16–14 15–10 15–7       64–47  

รอบชิงอันดับที่ 7 แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 เซต 6 เซต 7 รวม รายงาน
17 ก.ย. 14:00 คิวบา   4–2   จีน 14–16 12–15 15–4 16–14 15–3 19–17   91–69  

รอบชิงอันดับที่ 5 แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 เซต 6 เซต 7 รวม รายงาน
17 ก.ย. 16:30 บราซิล   0–4   สาธารณรัฐโดมินิกัน 12–15 6–15 8–15 13–15       39–60  

รอบชิงชนะเลิศ แก้

  รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
16 กันยายน
   ตุรกี  4  
   บัลแกเรีย  3  
 
17 กันยายน
       ตุรกี  0
     ไทย  4
รอบชิงอันดับที่ 3
16 กันยายน 17 กันยายน
   ไทย  4    บัลแกเรีย  2
   สโลวีเนีย  1      สโลวีเนีย  4

รอบรองชนะเลิศ แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 เซต 6 เซต 7 รวม รายงาน
16 ก.ย. 15:30 ตุรกี   4–3   บัลแกเรีย 11–15 16–14 11–15 13–15 15–7 16–14 15–8 97–88  
16 ก.ย. 18:30 ไทย   4–1   สโลวีเนีย 11–15 15–10 15–12 18–16 15–4     74–57  

รอบชิงอันดับที่ 3 แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 เซต 6 เซต 7 รวม รายงาน
17 ก.ย. 16:00 บัลแกเรีย   2–4   สโลวีเนีย 15–12 8–15 11–15 18–16 11–15 9–15   72–88  

รอบชิงชนะเลิศ แก้

วันที่ เวลา คะแนน เซต 1 เซต 2 เซต 3 เซต 4 เซต 5 เซต 6 เซต 7 รวม รายงาน
17 ก.ย. 19:00 ไทย   4–0   ตุรกี 15–12 15–11 15–13 15–8       60–44  

อันดับการแข่งขัน แก้


รางวัล แก้

วอลเลย์บอลหญิงไทย รุ่นอายุไม่เกิน 23 ปี 2017 แก้

รายชื่อนักวอลเลย์บอลหญิงไทย U23 ลุยศึก ชิงแชมป์โลก 2017 แก้

  • หัวหน้าผู้ฝึกสอน : ณัฐพนธ์ ศรีสมุทรนาค
  • ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน : ชำนาญ ดอกไม้
  • ผู้จัดการทีม : สมชาย ดอนไพรยอด
  • แพทย์ประจำทีม : พิเชษฐ์ เยี่ยมศิริ
  • นักกายภาพ : ทิพย์รัตน์ แก้วใส


หมายเลข 1 วิภาวี ศรีทอง (ตัวตบหัวเสา)

  • วันเกิด : 28 มกราคม พ.ศ.2542
  • ส่วนสูง : 1.73 เมตร


หมายเลข 2 ฑิชากร บุญเลิศ (บอลเร็ว)

  • วันเกิด : 22 มีนาคม พ.ศ.2544
  • ส่วนสูง : 1.80 เมตร


หมายเลข 3 พรพรรณ เกิดปราชญ์ (ตัวเซต)

  • วันเกิด : 5 พฤษภาคม พ.ศ.2538
  • ส่วนสูง : 1.70 เมตร


หมายเลข 4 ทัดดาว นึกแจ้ง (บอลเร็ว)

  • วันเกิด : 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2539
  • ส่วนสูง : 1.84 เมตร


หมายเลข 5 ปลื้มจิตร์ ถินขาว © (บอลเร็ว)

  • วันเกิด : 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2543
  • ส่วนสูง : 1.80 เมตร


หมายเลข 7 หัตถยา บำรุงสุข (บอลเร็ว)

  • วันเกิด : 12 สิงหาคม พ.ศ.2538
  • ส่วนสูง : 1.80 เมตร


หมายเลข 9 ธนัชชา สุขสด (บอลบีหลัง)

  • วันเกิด : 26 พฤษภาคม พ.ศ.2543
  • ส่วนสูง : 1.80 เมตร


หมายเลข 13 ณัฏฐณิชา ใจแสน (ตัวเซต)

  • วันเกิด : 21 พฤษภาคม พ.ศ.2541
  • ส่วนสูง : 1.72 เมตร


หมายเลข 16 พิมพิชยา ก๊กรัมย์ (บอลบีหลัง)

  • วันเกิด : 16 มิถุนายน พ.ศ.2543
  • ส่วนสูง : 1.78 เมตร


หมายเลข 17 พัชราภรณ์ สิทธิศาสตร์ (ตัวรับอิสระ)

  • วันเกิด : 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2539
  • ส่วนสูง : 1.67 เมตร


หมายเลข 18 อัจฉราพร คงยศ (ตัวตบหัวเสา)

  • วันเกิด : 18 มิถุนายน พ.ศ.2540
  • ส่วนสูง : 1.78 เมตร


หมายเลข 19 ชัชชุอร โมกศรี (ตัวตบหัวเสา)

  • วันเกิด : 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2544
  • ส่วนสูง : 1.78 เมตร
  1. "FOUR AGE GROUP WORLD CHAMPIONSHIPS HOSTS CONFIRMED". FIVB. สืบค้นเมื่อ 10 April 2016.
  2. "NINE PARTICIPANTS KNOWN FOR 2017 WOMEN'S U23 WORLD CHAMPIONSHIP". FIVB. 19 November 2016.
  3. 3.0 3.1 "FIVB World Ranking - Women U23 (as per January 2017)". FIVB. January 2017.