ปืนกลเอ็ม1917 บราวนิง
เอ็ม1917 ปืนกลบราวนิง เป็นปืนกลหนักที่ถูกใช้งานโดยกองทัพสหรัฐในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สงครามโลกครั้งที่สอง และสงครามเกาหลี มันยังได้ถูกใช้โดยประเทศอื่นๆ มันเป็นปืนกลที่ต้องใช้พลประจำปืนสามคนคือคนยิง คนถือขาตั้งปืน และถือสายกระสุน(ซึ่งตัวปืนนั้นมีน้ำหนักมากจึงต้องใช้กำลังในการยกปืนไปไหนมาไหนได้) นอกจากนั้นจะต้องใช้น้ำราดบนตัวปืนเพื่อระบายความร้อน มีการทำงานที่ใกล้เคียงกับบราวนิง เอ็ม1919 ที่มีน้ำหนักเบาและระบายความร้อนได้ดีกว่า มันได้ถูกใช้ในระดับกองพันและมักจะติดตั้งบนยานพาหนะ(เช่น รถจิป) มีการกล่าวถึงปืนสองรุ่นหลัก: เอ็ม1917 ซึ่งถูกใช้ในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง และเอ็ม1917เอ1 ซึ่งถูกใช้ในช่วงเวลาหลังจากนั้น เอ็ม1917 ซึ่งได้ถูกใช้ในเครื่องบินบางลำเช่นเดียวกันบทบาททางภาคพื้นดิน มีอัตราเร็วในการยิงตามวงรอบ(CYCLIC RATE)อยู่ที่ 450 นัดต่อนาที ส่วนเอ็ม1917เอ1 จะมีอัตราเร็วในการยิงตามวงรอบอยู่ที่ 450 ถึง 600 นัดต่อนาที
บราวนิง โมเดล 1917 | |
---|---|
ชนิด | ปืนกลหนัก |
แหล่งกำเนิด | สหรัฐอเมริกา |
บทบาท | |
ประจำการ | 1917 – late 1960s (U.S.) |
ผู้ใช้งาน | See Users |
สงคราม | สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง การปฏิวัติแม็กซิโก สงครามบานานา Chaco War สงครามโลกครั้งที่สอง สงครามเกาหลี สงครามอินโดจีนครั้งที่หนึ่ง วิกฤตการณ์คองโก สงครามเวียดนาม[ต้องการอ้างอิง] |
ประวัติการผลิต | |
ผู้ออกแบบ | จอห์น เอ็ม. บราวนิง |
ช่วงการออกแบบ | 1917 |
จำนวนที่ผลิต | 128,369 [1] |
แบบอื่น | M1917, M1917A1, Colt models |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 103 lb (47 kg) (gun, tripod, water, and ammunition) |
ความยาว | 980 mm |
ความยาวลำกล้อง | 24 in (609 mm) |
กระสุน | .30-06 Springfield |
การทำงาน | Recoil-operated automatic |
อัตราการยิง | 450 round/min, 600 round/min for M1917A1 |
ความเร็วปากกระบอก | 2,800 ft/s (853.6 m/s) |
ระบบป้อนกระสุน | 250 round fabric belt |
ผู้ใช้
แก้- อาร์เจนตินา: Colt Model 1928 and FN Model 30 in 7.65×53mm Mauser[2]:65-66
- ออสเตรเลีย[ต้องการอ้างอิง]
- เบลเยียม: locally produced[2]:66
- โบลิเวีย: bought 256 MG38s between 1920 and 1938 and 207 MG40s in 1933-1934, all in 7.65×53mm Mauser.[3]
- บราซิล: utilised by the Brazilian Expedicionary Force (Força Expedicionária Brasileira) in Italy campaing during the World War II
- แคนาดา[ต้องการอ้างอิง]
- สาธารณรัฐจีน: Colt Model 38B in 7.92mm Mauser[4]
- สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก (ex-Swedish m/36 guns)[ต้องการอ้างอิง]
- คิวบา[5]
- สาธารณรัฐโดมินิกัน[ต้องการอ้างอิง]
- เอธิโอเปีย[6]
- ฝรั่งเศส: used airborne variant in 7.5×54mm as the Modèle 1938.[2]:66 The M1917 HMG was also used by the BF-ONU[7] and during the First Indochina War.[8]
- กรีซ: FN30 variant in 6.5×54mm Mannlicher–Schönauer[2]:66
- กัวเตมาลา: Model 1924 in 7×57mm Mauser[2]:65
- อินโดนีเซีย[ต้องการอ้างอิง]
- ญี่ปุ่น[9]
- เกาหลีใต้[ต้องการอ้างอิง]
- มาเลเซีย[ต้องการอ้างอิง]
- เม็กซิโก: Model 1919 in 7×57mm Mauser[2]:65
- นิการากัว: used by the Nicaraguan National Guard (Guardia Nacional de Nicaragua) infantry companies from 1927 to 1945.
- นอร์เวย์: m/29[2]:65
- ปารากวัย: bought 144 MG38s between 1928 and 1934[3]
- ฟิลิปปินส์[2]:76
- โปแลนด์[2]:65
- สวีเดน (designated as Kulspruta (Ksp) m/36)
- ไทย: FN Model 30 in 8x52mmR,[2]:66 designated as the Type 66
- สหราชอาณาจักร[ต้องการอ้างอิง]
- สหรัฐ: was the standard medium machine gun until it was replaced a few after WWII.[2]:75 It was used in the Reserves and National Guard until the 1960s.[ต้องการอ้างอิง]
- เวียดนาม[ต้องการอ้างอิง]
- เวียดนามใต้[ต้องการอ้างอิง]
อ้างอิง
แก้- ↑ "The Browning Model 1917 Water-Cooled Machine Gun". Small Arms Defense Journal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-18. สืบค้นเมื่อ 2019-07-04.
- ↑ 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 Rottman, Gordon L. (20 February 2014). Browning .30-caliber Machine Guns. Weapon 32 (Paper ed.). Osprey Publishing. ISBN 9781780969213.
- ↑ 3.0 3.1 Huon, Jean (September 2013). "The Chaco War". Small Arms Review. Vol. 17 no. 3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-19. สืบค้นเมื่อ 2019-07-04.
- ↑ Shih, Bin (2018). China's Small Arms of the Second Sino-Japanese War (1937-1945).
- ↑ Jowett, Philip (28 Jun 2018). Latin American Wars 1900–1941: "Banana Wars," Border Wars & Revolutions. Men-at-Arms 519. Osprey Publishing. p. 38. ISBN 9781472826282.
- ↑ Jenzen-Jones, N.R. (30 September 2018). "Ethiopian .30-06, 7.62 × 51 mm & 7.92 × 57 mm cartridges". armamentresearch.com.
- ↑ Rossi, Michel (November 1992). "Le bataillon de Corée (1950/1953)". La Gazette des Armes (ภาษาฝรั่งเศส). No. 227. pp. 10–15. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-21. สืบค้นเมื่อ 2019-07-04.
- ↑ Dunstan, Simon (21 February 2019). French Armour in Vietnam 1945–54. New Vanguard 267. Osprey Publishing. p. 26. ISBN 9781472831828.
- ↑ "Nov. 07, 1951 - Japan's Police: Arms And The Men Trainees at Japan's National Police Reserve Academy in Etchujima pose behind their varied weapons on one of the school's firing ranges. About 950 trainees are at the academy undergoing a nine-week training course. Their weapons include the M-1 rifle, the carbine, 30-caliber and 50-caliber machine guns, the 2.36 bazooka, the 60mm mortar, the Browning automatic rifle. Mortars and bazooka are recent additions to the police arsenal". alamy. 7 November 1951.