บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก

บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FIBA Basketball World Cup) เป็นการแข่งขันบาสเกตบอลระหว่างประเทศโดยมีชุดทีมชาติชายร่วมเข้าแข่งในกลุ่มสมาชิกสหพันธ์บาสเกตบอลนานาชาติ (ฟีบา) การแข่งขันจัดขึ้นทุก ๆ 4 ปี เริ่มครั้งแรกในปี ค.ศ. 1950 ใน บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก 1950 การแข่งขันครั้งล่าสุดคือทีมชาติสหรัฐอเมริกา ที่ชนะในการแข่งขัน บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก 2014

บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก
การแข่งขันหรือฤดูกาลปัจจุบัน:
Current sports event บาสเกตบอลชิงแชมป์โลก 2014
กีฬาบาสเกตบอล
ก่อตั้ง1950
ฤดูกาลแรก1950
จำนวนทีม24
ประเทศสมาชิกฟีบา
ทวีปฟีบา (International)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันUnited States (5th title)
ทีมชนะเลิศสูงสุดสหรัฐอเมริกา & ยูโกสลาเวีย (5 titles)

ประวัติแก้ไข

 
แผนที่เจ้าภาพบาสเกตบอลชิงแชมป์โลก ฟ้าเข้ม: สอง; ฟ้าอ่อน: หนึ่ง

การคัดเลือกแก้ไข

 
แผนที่ของทีมประเทศต่าง ๆ กับผลงานที่ดีที่สุด
 
แผนที่ของจำนวนครั้งที่ทีมเข้ารอบ

การแข่งขันในปัจจุบันได้ขยายเป็น 32 ทีมในปี ค.ศ. 2019


ผลการแข่งขันแก้ไข

ปี เจ้าภาพ (Final phase/game) รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงอันดับที่ 3 จำนวนทีม
ทอง คะแนน เงิน ทองแดง คะแนน ที่ 4
1950   อาร์เจนตินา
(Buenos Aires)
  อาร์เจนตินา No playoffs[1]   สหรัฐ   ชิลี No playoffs[1]   บราซิล 10
1954   บราซิล
(Rio de Janeiro)
  สหรัฐ No playoffs[1]   บราซิล   ฟิลิปปินส์ No playoffs[1]   ฝรั่งเศส 12
1959   ชิลี
(Santiago)
  บราซิล No playoffs[1]   สหรัฐ   ชิลี No playoffs[1]
  ไต้หวัน 13
1963   บราซิล
(Rio de Janeiro)
  บราซิล No playoffs'[1]   ยูโกสลาเวีย   สหภาพโซเวียต No playoffs[1]   สหรัฐ 13
1967   อุรุกวัย
(Montevideo)
  สหภาพโซเวียต No playoffs[1]   ยูโกสลาเวีย   บราซิล No playoffs[1]   สหรัฐ 13
1970   ยูโกสลาเวีย
(Ljubljana)
  ยูโกสลาเวีย No playoffs[1]   บราซิล   สหภาพโซเวียต No playoffs[1]   อิตาลี 13
1974   ปวยร์โตรีโก
(San Juan)
  สหภาพโซเวียต No playoffs[1]   ยูโกสลาเวีย   สหรัฐ No playoffs[1]   คิวบา 14
1978   ฟิลิปปินส์
(Manila)
  ยูโกสลาเวีย 82–81
Overtime
  สหภาพโซเวียต   บราซิล 86–85   อิตาลี 14
1982   โคลอมเบีย
(Cali)
  สหภาพโซเวียต 95–94   สหรัฐ   ยูโกสลาเวีย 119–117   สเปน 13
1986   สเปน
(Madrid)
  สหรัฐ 87–85   สหภาพโซเวียต   ยูโกสลาเวีย 117–91   บราซิล 24
1990   อาร์เจนตินา
(Buenos Aires)
  ยูโกสลาเวีย 92–75   สหภาพโซเวียต   สหรัฐ 107–105
Overtime
  ปวยร์โตรีโก 16
1994   แคนาดา
(Toronto)
  สหรัฐ 137–91   รัสเซีย   โครเอเชีย 78–60   กรีซ 16
1998   กรีซ
(Athens)
  ยูโกสลาเวีย 64–62   รัสเซีย   สหรัฐ 84–61   กรีซ 16
2002   สหรัฐ
(Indianapolis)
  ยูโกสลาเวีย 84–77
Overtime
  อาร์เจนตินา   เยอรมนี 117–94   นิวซีแลนด์ 16
2006   ญี่ปุ่น
(Saitama)
  สเปน 70–47   กรีซ   สหรัฐ 96–81   อาร์เจนตินา 24
2010   ตุรกี
(Istanbul)
  สหรัฐ 81–64   ตุรกี   ลิทัวเนีย 99–88   เซอร์เบีย 24
2014   สเปน
(Madrid)
  สหรัฐ 129–92   เซอร์เบีย   ฝรั่งเศส 95–93   ลิทัวเนีย 24
2019   จีน
(Beijing)
  สเปน 95–75   อาร์เจนตินา   ฝรั่งเศส 67–59   ออสเตรเลีย 32
2023   ฟิลิปปินส์
  ญี่ปุ่น
  อินโดนีเซีย
32

สรุปเหรียญแก้ไข

Italics indicates nations that no longer exist.
ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1  สหรัฐ53412
2  ยูโกสลาเวีย53210
3  สหภาพโซเวียต3328
4  บราซิล2226
5  สเปน2002
6  อาร์เจนตินา1203
7  รัสเซีย0202
8  กรีซ0101
  ตุรกี0101
  เซอร์เบีย0101
11  ชิลี0022
  ฝรั่งเศส0022
13  ฟิลิปปินส์0011
  ลิทัวเนีย0011
  เยอรมนี0011
  โครเอเชีย0011
รวม (16 ประเทศ)18181854

ดูเพิ่มแก้ไข

อ้างอิงแก้ไข

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 No final was played; teams played each other once in the final group round-robin; the best team with the best record wins the championship. The scores are the results of the games between the teams in the final group.

แหล่งข้อมูลอื่นแก้ไข