บางระจัน (ละครโทรทัศน์)

บางระจัน เป็นละครโทรทัศน์ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 สร้างจากวรรณกรรมอมตะของ ไม้ เมืองเดิม โดยก่อนหน้านี้เคยถูกสร้างเป็นภาพยนตร์ที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2509 ในชื่อ ศึกบางระจัน [1]

บางระจัน
ประเภท
เขียนโดย2558
ไม้ เมืองเดิม
บทโดย2523
สะอาด เปี่ยมพงษ์ศานต์
2558
คฑาหัสต์ บุษปะเกศ / ฟ้าฟื้น
กำกับโดย2523
วรยุทธ พิชัยศรทัต
2558
ภวัต พนังคศิริ
ผู้กำกับศิลป์2558
  • อนันต์ นุชวงษ์
  • บุญสมพงค์ คำหอม
  • กมลวรรณ หรอดเกตุ
แสดงนำ2523

2558
ผู้ประพันธ์ดนตรีแก่นเรื่องวิเชียร ตันติพิมลพันธ์
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด2558
"บางระจัน" – พล นพวิชัย
ดนตรีแก่นเรื่องปิด2558
"ไม่สายใช่ไหม" – เจนนิเฟอร์ คิ้ม, พล นพวิชัย
ประเทศแหล่งกำเนิดไทย ประเทศไทย
ภาษาต้นฉบับไทย
จำนวนฤดูกาล1
จำนวนตอน18
การผลิต
ผู้อำนวยการผลิต2523
รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง
2558
อรุโณชา ภาณุพันธุ์
ผู้อำนวยการสร้าง2558
อนัญญา พรหมเงิน
ผู้ลำดับภาพ2558
  • วันชัย แผงกลาง
  • จรัล อุ้ยประโค
  • นภดล พึ่งพัก
  • ธนิต ศิริมงคล
ความยาวตอน~150 นาที
บริษัทผู้ผลิต2558
บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น
ออกอากาศ
เครือข่าย2535–2558
สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3
ออกอากาศ2523
4 ตุลาคม – N/A
2558
6 มกราคม – 9 มีนาคม

สร้างเป็นละครครั้งแรกในปี พ.ศ. 2523 ดำเนินงานสร้างโดย รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง กำกับการแสดงโดย วรยุทธ พิชัยศรทัต บทโทรทัศน์โดย สะอาด เปี่ยมพงษ์ศานต์ กำกับรายการโดย มีศักดิ์ นาครัตน์ ออกแบบ-สร้างฉากโดย ฉลอง เอี่ยมวิไล ออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 20.40 น. ออกอากาศครั้งแรกวันที่ 4 ตุลาคม 2523 [2][3]

ในปี พ.ศ. 2558 นำกลับมาสร้างใหม่อีกครั้ง สร้างโดยบริษัท บรอดคาซท์ ไทย เทเลวิชั่น จำกัด กำกับการแสดงโดย ภวัต พนังคศิริ อำนวยการผลิตโดย อรุโณชา ภาณุพันธุ์ ออกอากาศทุกวันจันทร์–อังคาร เวลา 20:15–22:45 น.

เรื่องย่อ แก้

เป็นเรื่องราวที่กล่าวถึงเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ซึ่งเกิดขึ้นจริง ของกลุ่มชาวบ้านสมัยอยุธยาที่รวมตัวกันเพื่อปกป้องอาณาจักรอยุธยา จากการเข้าตีของกองทัพพม่า ซึ่งนำโดยราชวงศ์โก้นบอง ในสงครามพม่า-สยาม โดยพวกเขาได้ตั้งหมู่บ้านขึ้นมาเรียกว่า "หมู่บ้านบางระจัน" ซึ่งพวกเขาสามารถต้านทานการตีกรุงศรีฯ ได้เป็นเวลานานถึง 5 เดือน โดยได้เสียให้แก่พม่าในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2309 และหลังจากนั้นไม่นาน ไทยก็ได้เสียกรุงศรีอยุธยาเป็นครั้งที่สอง[4][5]

รายชื่อนักแสดง แก้

ปี พ.ศ. 2509 พ.ศ. 2523 พ.ศ. 2558
รูปแบบ ภาพยนตร์ 16 มม. ละครโทรทัศน์ ช่อง 3
ผู้สร้าง ภาพยนตร์สหะนาวีไทย รัตนาภรณ์ อินทรกำแหง บรอดคาซท์
บทการแสดง ประสิทธิ์ ศิริบรรเทิง สะอาด เปี่ยมพงษ์ศานต์ คฑาหัสต์ บุษปะเกศ / ฟ้าฟื้น
ผู้กำกับการแสดง อนุมาศ บุนนาค
สุพรรณ พราหมณ์พันธุ์
วรยุทธ พิชัยศรทัต ภวัต พนังคศิริ
ตัวละครหลัก
ทัพ สมบัติ เมทะนี
นิรุตติ์ ศิริจรรยา
ด.ช.เก่ง เนติลักษณ์ (วัยเด็ก)
พงศกร เมตตาริกานนท์
ด.ช.อภิรักษ์ ตั้งสภาพรพันธ์ (วัยเด็ก)
แฟง พิศมัย วิไลศักดิ์
ปนัดดา โกมารทัต
ณิชชา โชคประจักษ์ชัด
ด.ญ.ณพัศพร บุญธรรมรัตน์ (วัยเด็ก)
ขาบ ทักษิณ แจ่มผล กิตติ ดัสกร ฐกฤต ตวันพงค์
เฟื่อง ปรียา รุ่งเรือง อัจฉรา เภกะนันทน์ กัญญ์ณรัณ วงศ์ขจรไกล
สังข์ รุจน์ รณภพ ภูษิต อภิมัน ปรมะ อิ่มอโนทัย
จวง ขวัญใจ สะอาดรักษ์ นัยนา คชแสง สาวิตรี สุทธิชานนท์
ฟัก ชุมพร เทพพิทักษ์ วิเชียร ทั้งสุข ภัทรภณ โตอุ่น
ใจ (อองนาย) พศุตม์ บานแย้ม
ปภังกร ฤกษ์เฉลิมพจน์ (วัยรุ่น)
สไบ ศิรพันธ์ วัฒนจินดา
ดอกรัก ปิติศักดิ์ เยาวนานนท์
หมู่เคลิ้ม สุวิน สว่างรัตน์ โสธร รุ่งเรือง จิรายุ ตันตระกูล
เอิบ อนุชา รัตนมาลย์ วีระกิตต์ วรัตน์ชยุต
ช่วง ชนินทร์ นฤปกรณ์ ศรัณย์ แก้วจินดา
ตัวละครรอง
กำนันพัน ประสาน จูงวงศ์ บุญศักดิ์ ดวงดารา สรพงษ์ ชาตรี
เฟี้ยม สมศรี อรรถจินดา สมจิตต์ ทรัพย์สำรวย อำภา ภูษิต
จันทร์ นวลศรี อุรารักษ์ ศรินทิพย์ ศิริวรรณ ปวีณา ชารีฟสกุล
เยื้อน ปริศนา กล่ำพินิจ
ผู้ใหญ่แสง จมื่นมานพนริศ ราม ราชพงษ์ สันติสุข พรหมศิริ
รุ่ง รมิดา ประภาสโนบล
เสือปิ่น ทองขาว ภัทรโชคชัย
ชิด พัฒนพล มินทะขิน
ฟ่าง (ลูกสาวแฟง) ด.ญ.นภัสธนันท์ นิมจิรวัฒน์
ฟองแข (น้องสาวเฟื่อง) ด.ญ.กัญญาลักษณ์ บำรุงรักษ์ ด.ญ.ชนัญญา เลิศวัฒนามงคล
ฟู ด.ช.ยงศิลป์ วงศ์พนิตนนท์
ฝ่ายกรุงศรีอยุธยา
พระเจ้าเอกทัศน์ วิทยา วสุไกรไพศาล
พระยารัตนาธิเบศร์ อบ บุญติด รวิชญ์ เทิดวงส์
กรมหลวงพิพิธมนตรี ปนัดดา โกมารทัต
จหมื่นศรีสรรักษ์ ประกาศิต โบสุวรรณ
ขุนหลวงวัดประดู่โรงธรรม (พระเจ้าอุทุมพร) วิศววิท แซ่อุ้ย
พระเที่ยง ธวัชชัย วงศาโรจน์ ธีรพงศ์ เหลียวรักวงศ์
ผู้นำค่ายบางระจัน
นายทองเหม็น อธึก อรรถจินดา สิงห์ มิลินทราศรัย สมชาย เข็มกลัด
นายทองแสงใหญ่ ปฐมชัย ชมศรีเมฆ ถนอม นวลอนันต์ ศรุต วิจิตรานนท์
กำนันพันเรือง สาหัส บุญหลง ประมินทร์ จารุจารีต วัชรชัย สุนทรศิริ
นายจันหนวดเขี้ยว ม.ร.ว.ประสิทธิ์ศักดิ์ สิงหรา ถนอม เหล็กพูน วิศรุต หิรัญบุศย์
ขุนสรรค์กรมการ อดุลย์ ดุลยรัตน์ อำนวย ศิริจันทร์ พศิน เรืองวุฒิ
นายแท่น วงค์ ศรีสวัสดิ์ สะอาด เปี่ยมพงษ์ศานต์ ภูริ หิรัญพฤกษ์
นายอิน ฟุ้ง สุนทร ปิยะธร นิโรธร ชัยวัฒน์ ทองแสง
นายโชติ เชษ ฉิมม่วง อิทธิฤทธิ สิงหรัตน์ รัชเมศฐ์ ไชยพิชญารัตน์
นายเมือง รุ่ง เมืองราษ ดี มอญแปลง ศิระ แพทย์รัตน์
นายทองแก้ว ประเสริฐ ภัทรประภา มานิต ศรีพงษ์ ชลัฏ ณ สงขลา
นายดอกไม้ ชาย มีคุณสุต ชูศักดิ์ สุธีธรรม สนธยา ชิตมณี
พระอาจารย์ธรรมโชติ เอิบ สายแสงแก้ว เจริญ เวชเกษม ชาติชาย งามสรรพ์
กองทัพพม่า
พระเจ้ามังระ อภินันท์ ประเสริฐวัฒนกุล
เนเมียวสีหบดี เมศร์ แมนสรวง สมพล กงสุวรรณ นิรุตติ์ ศิริจรรยา
มังมหานรธา สุเชาว์ พงษ์วิไล
สุกี้นายกอง สกล นิลศรี ทนงศักดิ์ ภักดีเทวา เรืองศักดิ์ ลอยชูศักดิ์
ศศินทร์ เชาว์ (วัยรุ่น)
อูจี สุพจน์ จันทร์เจริญ
เจิด (อูทิน) ทวีฤทธิ์ จุลละทรัพย์
วิศรุต หิมรัตน์ (วัยรุ่น)
จาด (จอกยีโบ) ทนงศักดิ์ ศุภการ
งาจุนหวุ่น โฆษวิส ปิยะสกุลแก้ว
เยกินหวุ่น ภุชิสสะ ธนพัฒน์
แยจออากา พีระ พาณิชย์พงส์
ติงจาโบ จตุรวิทย์ คชน่วม
จิกแก ปีเตอร์ หลุยส์ ไมอ๊อคชิ
อากาปันคยี เทียว ธารา ศรัณยู ประชากริช
สุรินทจอข่อง กฤษณะ อำนวยพร ปราบต์ปฎล สุวรรณบาง
ฉับกุงโบ สมชาติ ประชาไทย
มยีหวุ่น ณฐกร ไตรกิศยเวช

เพลงประกอบละคร แก้

พ.ศ. 2558 แก้

ลำดับชื่อเพลงเนื้อเพลงทำนองศิลปินยาว
1."บางระจัน"วิเชียร ตันติพิมลพันธ์วิเชียร ตันติพิมลพันธ์พล นพวิชัย4:18
2."พรากรัก"วิเชียร ตันติพิมลพันธ์วิเชียร ตันติพิมลพันธ์เจนนิเฟอร์ คิ้ม4:56
3."ไม่สายใช่ไหม"วิเชียร ตันติพิมลพันธ์วิเชียร ตันติพิมลพันธ์
  • เจนนิเฟอร์ คิ้ม
  • พล นพวิชัย
4:24
ความยาวทั้งหมด:13:38

รางวัลและการเข้าชิง แก้

ปี รางวัล สาขารางวัล ผู้ได้รับการเสนอชื่อ ผลการตัดสิน
2558
รางวัลโทรทัศน์ทองคำ ครั้งที่ 30 [6]
ดาราสนับสนุนชายดีเด่น พศุตม์ บานแย้ม ชนะ
รางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7 [7]
กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม ประเสริฐ โพธิ์ศรีรัตน์ เสนอชื่อเข้าชิง
กำกับภาพยอดเยี่ยม อธิศักดิ์ โตอดิเทพย์ ชนะ
ลำดับภาพยอดเยี่ยม วันชัย แฝงกลาง เสนอชื่อเข้าชิง
เครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม กิจจา ลาโพธิ์ เสนอชื่อเข้าชิง
เพลงละครยอดเยี่ยม บางระจัน
ขับร้องโดย พีท พล
เสนอชื่อเข้าชิง
ทีมนักแสดงยอดเยี่ยม บางระจัน เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม พศุตม์ บานแย้ม เสนอชื่อเข้าชิง
นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม ศิรพันธ์ วัฒนจินดา เสนอชื่อเข้าชิง
สีสันบันเทิงอวอร์ดส์ 2015[8]
ดาวรุ่งชายแห่งปี พงศกร เมตตาริกานนท์ ชนะ
มายาอวอร์ดส์ 2015[9]
ดาราดาวรุ่งชาย ขวัญใจมหาชน ชนะ
2559
ราชบัณฑิตยสภาสรรเสริญ[10]
นักแสดงนำชายผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น ชนะ
คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 13
นักแสดงชายยอดนิยม เสนอชื่อเข้าชิง

ดูเพิ่ม แก้

การออกอากาศในต่างประเทศ แก้

อ้างอิง แก้

  1. ศึกบางระจัน.. ทำหนัง 16 เป็น 35 มม. เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน โดย มนัส กิ่งจันทร์
  2. ละครโทรทัศน์ บางระจัน (2523)
  3. ละครบางระจัน เมื่อวันวาน : บางระจัน (2523)
  4. บาหยัน อิ่มสำราญ (10 April 2023). "บางระจัน กับประวัติศาสตร์ในวรรณกรรม สู่บทบาท "นายทองเหม็น" และอีกหลายนาม". silpa-mag.com. สืบค้นเมื่อ 3 December 2023.
  5. กองบรรณาธิการศิลปวัฒนธรรม (7 April 2023). "7 เมษายน 2310: กรุงศรีอยุธยาแตก". silpa-mag.com. สืบค้นเมื่อ 3 December 2023.
  6. ผลรางวัลโทรทัศน์ทองคำ ประจำปี 2558
  7. ผลรางวัลนาฏราช ครั้งที่ 7 ประจำปี 2558
  8. "สีสันบันเทิง อวอร์ด 2015". 23 December 2015. สืบค้นเมื่อ 3 December 2023.
  9. "ผลรางวัล MAYA Awards มายามหาชน 2015 ขวัญ วี คว้านำหญิง-ชายดีเด่น". drama.kapook.com. สืบค้นเมื่อ 3 December 2023.
  10. "งานมอบรางวัล "ราชบัณฑิตยสภาสรรเสริญ" ให้แก่ผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่น ประจำพุทธศักราช ๒๕๕๘". สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. สืบค้นเมื่อ 3 December 2023.


ไทยทีวีสีช่อง 3: ละครวันจันทร์–อังคาร 20:15 – 22:45 น.
ก่อนหน้า บางระจัน (ละครโทรทัศน์) ถัดไป
ทางเดินแห่งรัก เลือดมังกร