นายกรัฐมนตรีจีน

หัวหน้ารัฐบาลของจีน

นายกรัฐมนตรีสาธารณรัฐประชาชนจีน มีชื่อตำแหน่งอย่างเป็นทางการคือ ประธานคณะมนตรีรัฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน[2] (จีน: 中华人民共和国国务院总理) เป็นตำแหน่งผู้นำของคณะมนตรีรัฐกิจ อันเป็นรัฐบาลประชาชนจีน ซึ่งตามระบบอาวุโสของทำเนียบการเมือง ประธานคณะมนตรีรัฐกิจถือเป็นตำแหน่งที่มีความอาวุโสที่สุดเป็นอันดับสองของประเทศรองจากเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน

ประธานคณะมนตรีรัฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน
中华人民共和国国务院总理
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
หลี่ เฉียง
ตั้งแต่ 11 มีนาคม ค.ศ. 2023
สมาชิกของ
  • คณะมนตรีรัฐกิจ
  • การประชุมเต็มคณะของคณะมนตรีรัฐกิจ
  • การประชุมฝ่ายบริหารของคณะมนตรีรัฐกิจ
รายงานต่อ
จวนจงหนานไห่
ที่ว่าการRegent Palace จงหนานไห่ ปักกิ่ง
ผู้เสนอชื่อประธานาธิบดี
(ผ่านการเลือกตั้งในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศจีน)
วาระ5 ปี (สูงสุด 2 วาระ)
ตราสารจัดตั้งรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐประชาชนจีน
ตำแหน่งก่อนหน้าChairman of the Council of People's Commissars of the Chinese Soviet Republic
ผู้ประเดิมตำแหน่งโจว เอินไหล
สถาปนา1 ตุลาคม 1949; 75 ปีก่อน (1949-10-01)
รองรองนายกรัฐมนตรี
ประธานคณะมนตรีรัฐกิจ
เงินตอบแทน152,121 เหรินหมินปี้[1]
เว็บไซต์State Council
ประธานคณะมนตรีรัฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน
อักษรจีนตัวย่อ中华人民共和国国务院总理
อักษรจีนตัวเต็ม中華人民共和國國務院總理
ชื่อภาษาจีนอื่น ๆ
อักษรจีนตัวย่อ国务院总理
อักษรจีนตัวเต็ม國務院總理

นายกรัฐมนตรีมาจากการเสนอชื่อโดยประธานาธิบดีต่อที่ประชุมสภาประชาชนแห่งชาติ นายกรัฐมนตรีฯมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการวางแผนและการปฏิบัตินโยบายของรัฐบาลพลเรือนจีน รวมถึงกำกับดูแลกระทรวง, กรม และหน่วยงานของรัฐ[3] ทั้งยังเป็นผู้เสนอชื่อบุลคลที่จะดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีฯ และรัฐมนตรีประจำกระทรวงต่าง ๆ ต่อสภาประชาชนแห่งชาติ อย่างไรก็ตาม นายกรัฐมนตรีฯไม่มีอำนาจในการสั่งการกองทัพ ผู้มีอำนาจนี้คือประธานาธิบดีและเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมาธิการการทหารส่วนกลาง

รายชื่อนายกรัฐมนตรี

แก้

หมายเหตุ (*) - ยังมีชีวิตอยู่

หลี่ เฉียงหลี่ เค่อเฉียงเวิน เจียเป่าจู หรงจี้หลี่ เผิงจาว ซีหยางฮั่ว กั๋วเฟิงโจว เอินไหล

อ้างอิง

แก้
  1. "Public employees get salary increase - China - Chinadaily.com.cn". www.chinadaily.com.cn. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-05. สืบค้นเมื่อ 2019-11-06.
  2. สมประสงค์ นิลสมัย. วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ. สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. ผลกระทบของระบอบการปกครอง ต่อการเสริมสร้างกำลังกองทัพ : ศึกษาเปรียบเทียบระบอบประชาธิปไตยกับระบอบสังคมนิยม
  3. http://english.people.com.cn/constitution/constitution.html เก็บถาวร 2009-07-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Section 3, Article 88 and Article 89.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้