ชาวฮังการี (ฮังการี: magyarok) หรือ ชาวม็อดยอร์ คือกลุ่มชาติพันธุ์ที่ส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับประเทศฮังการี ชาวม็อดยอร์มีด้วยกันราว 10 ล้านคนในประเทศฮังการี (ค.ศ. 2001) [17] ชาวฮังการีเป็นชาติพันธุ์หลักที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ในราชอาณาจักรฮังการีที่รุ่งเรืองอยู่ในระยะหนึ่งพันปีที่ผ่านมา ดินแดนของอาณาจักรนี้ถูกแบ่งแยกออกไปตามสนธิสัญญาทรียานง (Treaty of Trianon) (ค.ศ. 1920) ซึ่งเป็นผลทำให้ชนฮังการีจำนวน 3,425,000 คนต้องแยกตัวจากดินแดนบ้านเกิด[18][19] จำนวนประชากรฮังการีที่ตั้งถิ่นฐานนอกฮังการีในปัจจุบันรวมทั้ง: ในโรมาเนีย (1,440,000 คน), สโลวาเกีย (520,500 คน), เซอร์เบีย (293,000 คน), ยูเครน (156,000 คน), ออสเตรีย (40,583 คน), โครเอเชีย (16,500 คน), สาธารณรัฐเช็ก (14,600 คน) และสโลวีเนีย (10,000 คน) นอกจากนั้นก็ยังมีกลุ่มชนใหญ่ ๆ ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวฮังการีที่ไปตั้งถิ่นฐานอยู่ในบริเวณอื่นในโลก เช่น 1,400,000 คนในสหรัฐอเมริกา แต่มีเพียงจำนวนเล็กน้อยที่ยังรักษาขนบประเพณีและภาษาพูดของฮังการีอยู่

ชาวฮังการี
magyarok
ประชากรทั้งหมด
ป. 14.2–14.5 ล้านคน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ธงของประเทศฮังการี ฮังการี       9,632,744[1]
 สหรัฐอเมริกา1,437,694[2]
ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย1,227,623[3]
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย458,467[4]
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา348,085[5]
ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย253,899[6]
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน156,566[7]
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี156,812[8]
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส100,000–200,000[9]
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย87,604[10]
ธงของประเทศบราซิล บราซิล80,000[11]
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย67,616[12]
ธงของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร52,250
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน40,000–70,000
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก50,000–55,000
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา40,000–50,000
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์26,172[13]
ธงของประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย16,595[14]
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอลป. 10,000–200,000[15]
ธงของประเทศอุรุกวัย อุรุกวัย1,000
ธงของประเทศกรีซ กรีซน้อยกว่า 1,000
ภาษา
ฮังการี
ศาสนา
ส่วนมาก:
คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก[16], คริสต์นิกายโปรเตสแตนต์
ส่วนน้อย:
ยูดาห์, อิสลาม

กลุ่มชาวม็อดยอร์สามารถแบ่งออกไปเป็นกลุ่มย่อยได้อีกตามภาษาท้องถิ่นและลักษณะวัฒนธรรม เช่น กลุ่มเซแคย์ (Székelys), กลุ่มชางโก (Csángó), กลุ่มยาซ (Jász) และ กลุ่มปาโล็ตซ์ (Palóc)

อ้างอิง

แก้
  1. Vukovich, Gabriella (2018). Mikrocenzus 2016 - 12. Nemzetiségi adatok [2016 microcensus - 12. Ethnic data] (PDF). Hungarian Central Statistical Office (ภาษาฮังการี). Budapest. ISBN 978-963-235-542-9. สืบค้นเมื่อ 9 January 2019.
  2. "Total ancestry categories tallied for people with one or more ancestry categories reported: 2013 American Community Survey 1-Year Estimates". United States Census Bureau. 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 February 2020. สืบค้นเมื่อ 1 August 2016.
  3. (ในภาษาโรมาเนีย) "Comunicat de presă privind rezultatele definitive ale Recensământului Populaţiei şi Locuinţelor – 2011" เก็บถาวร 2013-07-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, at the 2011 Romanian census site; accessed 11 July 2013
  4. 2001 Slovakian Census
  5. "2016 Canadian census".
  6. 2011 Serbian Census
  7. "About number and composition population of UKRAINE by data All-Ukrainian census of the population 2001". State Statistics Committee of Ukraine. 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 31 October 2004.
  8. "Anzahl der Ausländer in Deutschland nach Herkunftsland (Stand: 31. Dezember 2014)". De.statista.com. สืบค้นเมื่อ 12 December 2017.
  9. "Bund Ungarischer Organisationen in Deutschland" [Confederation of Hungarian Organizations in Germany]. buod.de (ภาษาเยอรมัน). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 February 2006.
  10. "Bevölkerung zu Jahresbeginn 2002-2020 nach detaillierter Staatsangehörigkeit" [Population at the beginning of the year 2002-2020 by detailed nationality] (PDF). Statistics Austria (ภาษาเยอรมัน). 12 February 2020. สืบค้นเมื่อ 14 May 2020.
  11. Moschella, Alexandre (24 June 2002). "Um atalho para a Europa" [A shortcut to Europe] (ภาษาโปรตุเกส). Revista Época Edição. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2003.
  12. "Australian Bureau of Statistics (Census 2006)". Abs.gov.au. 2013-04-03. สืบค้นเมื่อ 2013-08-22.
  13. "Bevolking; geslacht, leeftijd, generatie en migratieachtergrond, 1 januari". CBS StatLine. สืบค้นเมื่อ 2020-08-11.
  14. "Položaj nacionalnih manjina u Republici Hrvatskoj – zakonodavstvo i praksa" [The Position of National Minorities in the Republic of Croatia - Legislation and Practice] (ภาษาโครเอเชีย). Centre for Human Rights. April 2005. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 May 2007.
  15. https://epa.oszk.hu/00400/00462/00048/1890.htm
  16. Discrimination in the EU in 2012 (PDF). Special Eurobarometer (Report). 383. European Commission. พฤศจิกายน 2012. p. 233. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 ธันวาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2013. The question asked was "Do you consider yourself to be...?" With a card showing: Catholic, Orthodox, Protestant, Other Christian, Jewish, Muslim, Sikh, Buddhist, Hindu, Atheist, and Non-believer/Agnostic. Space was given for Other (SPONTANEOUS) and DK. Jewish, Sikh, Buddhist, Hindu did not reach the 1% threshold.
  17. [https://web.archive.org/web/20110512032455/http://www.nepszamlalas.hu/eng/volumes/18/tables/load1_28.html เก็บถาวร 2011-05-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  18. Molnar, A Concise History of Hungary, p. 262 online
  19. Richard C. Frucht, Eastern Europe: An Introduction to the People, Lands, and Culture p. 359-360 online

ดูเพิ่ม

แก้