การประท้วงในประเทศพม่า พ.ศ. 2564–ปัจจุบัน
การประท้วงในประเทศพม่า พ.ศ. 2564–2565 รู้จักกันในประเทศว่า การปฏิวัติฤดูใบไม้ผลิ (พม่า: နွေဦးတော်လှန်ရေး, เสียงอ่านภาษาพม่า: [nwè.ú.tɔ̀.l̥àɰ̃.jé])[11][12] เป็นความพยายามขัดขืนของพลเมืองในประเทศพม่าต่อรัฐประหารซึ่งพลเอกอาวุโส มี่นอองไลง์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของพม่า ก่อขึ้นในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564[13] โดยจนถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ มีบุคคลอย่างน้อย 452 คนถูกกักขังเนื่องจากรัฐประหาร[14] ผู้ประท้วงใช้วิธีการประท้วงแบบสันติวิธีและปราศจากความรุนแรง[15] ซึ่งได้แก่การดื้อแพ่ง การนัดหยุดงาน การรณรงค์คว่ำบาตรกองทัพ ขบวนการตีหม้อ การรณรงค์ริบบิ้นแดง การประท้วงสาธารณะ และการรับรองผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการโดยผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง
การประท้วงในประเทศพม่า พ.ศ. 2564–2565 (การปฏิวัติฤดูใบไม้ผลิพม่า) | |||
---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งภายในพม่า | |||
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
| |||
วันที่ | 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 – ปัจจุบัน | ||
สถานที่ | ประเทศพม่า | ||
สาเหตุ | รัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2564 | ||
เป้าหมาย |
| ||
วิธีการ | การเดินขบวน, การนัดหยุดงาน, การดื้อแพ่ง, ความเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต, ศิลปะการประท้วง | ||
สถานะ | ยังดำเนินอยู่
| ||
คู่ขัดแย้ง | |||
| |||
ผู้นำ | |||
| |||
ความเสียหาย | |||
เสียชีวิต | ผู้ประท้วง 2,327 คน (จากAAPP)[6] ตำรวจ 47 นายและทหาร 7 นาย (จากSAC; ในวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2021)[a][9][10] | ||
ถูกจำคุก | ปัจจุบันถูกคุมคัว 15,691 คน (จากAAPP)[6] |
สัญลักษณ์ในการประท้วง ประกอบด้วยสีแดงซึ่งเป็นสีของพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD),[16] เพลง "กาบามาเจบู" (ကမ္ဘာမကျေဘူး) ซึ่งได้รับความนิยมครั้งแรกในการก่อการกำเริบ 8888 เป็นเพลงประท้วง[17][18][19] สัญลักษณ์สามนิ้วยังมีการใช้อย่างกว้างขวาง[20] ส่วนชาวเน็ตนิยมประชาธิปไตยบางส่วนเข้าร่วมพันธมิตรชานม ซึ่งเป็นขบวนการความเป็นปึกแผ่นประชาธิปไตยออนไลน์ในทวีปเอเชีย[21]
ฝ่ายรัฐบาลทหารมีมาตรการตอบโต้หลายวิธี รวมทั้งการสั่งปิดอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคม การปิดสื่อ การจับกุมและลงโทษอาญาต่อผู้ประท้วง การเผยแพร่สารสนเทศเท็จ การทาบทามทางการเมืองต่อพรรคการเมืองให้เข้าร่วมสภาบริหารแห่งรัฐ (สภาชั่วคราว) การส่งผู้ประท้วงและผู้ปลุกระดมฝั่งนิยมทหาร และการใช้กำลังรุนแรงเพื่อปราบปรามการประท้วง ในปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ดังกล่าวจำนวนมาก ไม่เว้นแม้กระทั่งผู้พิพากษา[22]สตรี เด็ก และเยาวชน ที่ต่างถูกสังหารในเหตุการณ์ครั้งนี้ อาจจะทวีคูณขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ดูเพิ่ม
แก้หมายเหตุ
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "Myanmar's Military Leader Declares Himself Prime Minister And Promises Elections". Associated Press. NPR. 2 August 2021. สืบค้นเมื่อ 10 August 2021.
- ↑ Bodea, Malina (2021-02-28). "Myanmar's Military-Led Coup: A Stop Sign On The Path To Democracy". The Organization for World Peace (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-03-01.
- ↑ Limited, Bangkok Post Public Company. "Down but not out". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 2021-03-01.
- ↑ https://www.businessinsider.com/china-russia-block-un-security-council-condemn-myanmar-coup-2021-2
- ↑ "Hundreds attend pro-military protest in defiance of Covid-19 restrictions". Myanmar-now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2021. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
- ↑ 6.0 6.1 ASSISTANCE ASSOCIATION FOR POLITICAL PRISONERS (BURMA)
- ↑ Yildiz Faruk, Omer (4 April 2021). "Myanmar: 6 cops dead as protesters attack police post". Anadolu Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 April 2021. สืบค้นเมื่อ 4 April 2021.
- ↑ "Crackdown Injury & Death List" (PDF). Assistance Association for Political Prisoners. 4 April 2021. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 May 2021. สืบค้นเมื่อ 5 April 2021.
- ↑ Staff (23 May 2021). "Fighting surges in Myanmar's growing anti-junta conflict". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 May 2021. สืบค้นเมื่อ 23 May 2021.
- ↑ "Myanmar air bases come under rocket fire". 29 April 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 April 2021. สืบค้นเมื่อ 4 May 2021.
- ↑ "'Spring Revolution': Myanmar protests swell despite military junta's threat of force". Associated Press via Global News. 21 February 2021. สืบค้นเมื่อ 15 March 2021.
- ↑ Ratcliffe, Rebecca (22 February 2021). "Myanmar junta warns of lethal force as crowds gather for 'five twos revolution'". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 February 2021. สืบค้นเมื่อ 22 February 2021.
- ↑ "Anti-Coup Protest on Streets of Myanmar's Second City". US News. 3 February 2021.
- ↑ "Daily Briefing in Relation to the Military Coup". aappb.org | Assistance Association for Political Prisoners. 6 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2021. สืบค้นเมื่อ 16 February 2021.
- ↑ "Myanmar adopts nonviolent approach to resist army coup". Arab News (ภาษาอังกฤษ). 3 February 2021. สืบค้นเมื่อ 7 February 2021.
- ↑ Carly Walsh and Akanksha Sharma. "Protests break out in Myanmar in defiance of military coup". cnn.com. สืบค้นเมื่อ 7 February 2021.
- ↑ "Myanmar restaurant in Bangkok promotes anti-coup activity". AP NEWS. 6 February 2021. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
- ↑ "Resistance to coup grows despite Myanmar's block of Facebook". AP NEWS. 4 February 2021. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
- ↑ "Songwriter Who Provided "Theme Song" to 8888 Uprising Finally Honored". The Irrawaddy. 9 August 2018. สืบค้นเมื่อ 4 February 2021.
- ↑ "Myanmar blocks Facebook as resistance grows to military coup". ABC News (Australia). 5 February 2021. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "#MilkTeaAlliance has a new target brewing: Myanmar's military". South China Morning Post. 4 February 2021. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.
- ↑ ผู้พิพากษาผู้สั่งจำคุกฝ่ายต้านรัฐประหารถูกลอบยิงเสียชีวิต รวมเจ้าหน้าที่รัฐพม่าถูกล่า 6 รายใน 4 วัน