การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1848–1849

การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1848-1849 (เยอรมัน: Deutsche Revolution 1848/1849), ช่วงระยะเปิดฉากซึ่งถูกเรียกอีกอย่างว่า การปฏิวัติเดือนมีนาคม (เยอรมัน: Märzrevolution) แต่เดิมเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิวัติ ค.ศ. 1848 ที่เกิดขึ้นในหลายประเทศในยุโรป พวกเขาเป็นหนึ่งในกลุ่มประท้วงและการก่อกบฎที่ประสานงานร่วมกันแบบหลวม ๆ ในสมาพันธรัฐเยอรมัน รวมทั้งจักรวรรดิออสเตรีย การปฏิวัติครั้งนี้ ซึ่งได้เน้นย้ำถึงอุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน แสดงให้เห็นถึงความไม่พอใจที่แพร่หลาย ต่อโครงสร้างทางการเมืองที่มีอำนาจเด็ดขาดแบบดั้งเดิมของรัฐอิสระทั้งสามสิบเก้ารัฐของสมาพันธรัฐที่ได้สืบทอดดินแดนเยอรมันของอดีตจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ภายหลังจากการถอดถอนอันเป็นผลมาจากสงครามนโปเลียน กระบวนการนี้ได้เริ่มต้นในช่วงกลางปี ค.ศ. 1840

การปฏิวัติเยอรมัน ค.ศ. 1848-49
ส่วนหนึ่งของ การปฏิวัติ ค.ศ. 1848 และการรวมชาติเยอรมัน

ต้นกำเนิดของธงชาติเยอรมนี: ชุมนุมสนับสนุนฝ่ายปฏิวัติในเบอร์ลิน, 19 มีนาคม ค.ศ. 1848
วันที่กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1848 – กรกฎาคม ค.ศ. 1849
สถานที่
ผล

การก่อจลาจลของฝ่ายกบฏได้ถูกปราบปราม

คู่สงคราม

สมาพันธรัฐเยอรมัน

จักรวรรดิเยอรมัน
คณะปฏิวัติเยอรมัน
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
ฟรีดริช เอากุสท์ที่ 2
ฟรีดริช วิลเฮ็ล์มที่ 4
เคลเมินส์ ฟ็อน เม็ทเทอร์นิช
กำลัง
กองทัพสมาพันธรัฐเยอรมัน ฝ่ายจักรวรรดิ ประมาณ 45,000 นาย[ต้องการอ้างอิง][ไม่แน่ใจ ] ชาวนาและคนงานประมาณ 400,000 คน[ต้องการอ้างอิง][ไม่แน่ใจ ]
The painting Germania, possibly by Philipp Veit, hung inside the Frankfurt parliament, the first national parliament in German history

ส่วนหนึ่งของชนชั้นกลางที่ยึดมั่นในหลักการเสรีนิยม ในขณะที่ชนชั้นแรงงานได้แสวงหาในการปรับปรุงเพื่อให้มีสภาพการทำงานและชีวิตความเป็นอยู่อย่างรุนแรง ในขณะที่ชนชั้นกลางและชนชั้นแรงงานเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิวัติที่แยกต่างหาก ชนชั้นสูงที่เป็นฝ่ายอนุรักษ์นิยมเป็นฝ่ายชนะ พวกเสรีนิยมได้ถูกบังคับให้ลี้ภัยเพื่อหลบหนีการกดขี่ข่มเหงทางการเมือง ซึ่งพวกเขาได้เป็นที่รู้จักกันคือ Forty-Eighters หลายคนได้อพยพไปยังสหรัฐอเมริกา โดยได้ตั้งถิ่นฐานจากรัฐวิสคอนซินไปยังรัฐเท็กซัส

อ้างอิง แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้