กองทัพยูเครน (ยูเครน: Збро́йні си́ли Украї́ни) หรือที่เรียกอย่างย่อว่า แซแซอู (ЗСУ) เป็นกำลังทหารของยูเครน กองกำลังทหารและความมั่นคงทั้งหมด รวมทั้งกองกำลังติดอาวุธ และอยู่ภายใต้บังคับบัญชาของประธานาธิบดีแห่งยูเครนและอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการรัฐสภา เวอร์คอฟนา ราดา(สภาสูงสุดแห่งยูเครน) อย่างถาวร

กองทัพยูเครน
Збройні сили України
ตราสัญลักษณ์กองทัพยูเครน
ธงประจำกองทัพยูเครน
ก่อตั้งค.ศ. 1917
รูปแบบปัจจุบัน6 ธันวาคม ค.ศ. 1991[1]
เหล่า กองทัพบก
กองทัพอากาศ
กองทัพเรือ
กองกำลังจู่โจมอากาศ
กองกำลังปฏิบัติการพิเศษ[2]
กองบัญชาการอาคารกระทรวงกลาโหม, จัตุรัส Povitroflotskyi, เคียฟ
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการทหารสูงสุด วอลอดือมือร์ แซแลนสกึย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม Rustem Umerov[3]
ประธานคณะเสนาธิการทหาร[5] Oleksandr Syrskyi[4]
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ18 ปี[6]
การเกณฑ์12 เดือน (กองทัพบก, กองทัพอากาศ)
18 เดือน (กองทัพเรือ)
ประชากร
วัยบรรจุ
11,149,646, อายุ 16–49 (2015[10])
ประชากร
ฉกรรจ์
6,970,035, อายุ 16–49 (2015[10])
ประชากรวัยถึงขั้น
ประจำการทุกปี
470,406 (2021) (2015[10])
ยอดประจำการ255,000 (2021)[7]
ยอดสำรอง900,000(2021)[8]
ยอดกำลังนอกประเทศ60,000[9]
รายจ่าย
งบประมาณ136 พันล้านฮริฟเนีย (6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ)(2020)[11]
ร้อยละต่อจีดีพี3% (2020)[11]
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตในประเทศUkroboronprom (อุตสาหกรรมป้องกันประเทศยูเครน)
แหล่งผลิตนอกประเทศ สหรัฐ
 สหราชอาณาจักร
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
ธงของประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย
ธงของประเทศจีน จีน
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงของประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย
ธงของประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
ธงของประเทศอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
ธงของประเทศสเปน สเปน
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
อดีต:
 รัสเซีย
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติสงครามยูเครน–โซเวียต
สงครามโปแลนด์–ยูเครน
วิกฤตไครเมีย ค.ศ. 1992–94
กองทัพคอซอวอ
UNAMSIL
ความขัดแย้งที่เกาะตุซลา
ISAF
สงครามอิรัก
ONUCI
Operation Ocean Shield
MONUSCO
1999 East Timorese crisis
Operation Atalanta
สงครามรัสเซีย–ยูเครน
ความขัดแย้งนิยมรัสเซียในประเทศยูเครน
การผนวกไครเมีย
สงครามในดอนบัส
การรุกรานยูเครนโดยรัสเซีย
ยศยศทหารยูเครน
เครื่องอิสริยาภรณ์

กองทัพยูเครนประกอบไปด้วยกองทัพบก กองทัพอากาศ กองทัพเรือ กองกำลังจู่โจมทางอากาศ และกองกำลังปฏิบัติการพิเศษ กองทัพเรือยูเครนเองจะประกอบไปด้วยทหารราบนาวีและกองบินนาวีเช่นเดียวกัน กองกำลังป้องกันดินแดนจะทำหน้าที่เป็นกองกำลังทหารสำรองและในกรณีสงคราม สามารถระดมมวลชนจากอาสาสมัครพลเรือนเพื่อทำหน้าที่ในการป้องกันท้องถิ่น[12] หน่วยยามทะเลยูเครนเป็นหน่วยยามฝั่งของยูเครน แต่เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยยามชายแดนและไม่อยู่ใต้บังคับบัญชาของกองทัพเรือ กองกำลังป้องกันทางอากาศยูเครนเป็นสาขาที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการสงครามต่อต้านอากาศยานตั้งแต่ ค.ศ. 1991 จนกระทั่งถูกรวมเข้ากับกองทัพอากาศใน ค.ศ. 2004

เนื่องจากการแทรกแซงทางทหารของรัสเซียในยูเครนใน ค.ศ. 2014 ประธานาธิบดีได้มอบหมายแก่ผู้ว่าราชการแห่งแคว้นของยูเครนให้สร้างหน่วยอาสาสมัครภายใต้กองกำลังป้องกันดินแดนของรัฐบาล ในช่วงแรก หน่วยทหารเหล่านี้ได้รับทุนเพียงเล็กน้อยจากงบประมาณของส่วนภูมิภาคและส่วนใหญ่อาศัยอยู่ที่เงินบริจาค ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2014 กองพันป้องกันดินแดนส่วนใหญ่ถูกรวมเข้ากับกองทัพบกยูเครน หน่วยพิทักษ์ชาติยูเครนได้ทำหน้าที่เป็นส่วนเสริมกำลังสำรองของกองกำลังกึ่งทหารของกองทัพยูเครน

ภายหลังจากการสู้รบกับรัสเซียใน ค.ศ. 2014 ยูเครนได้เพิ่มขนาดกองกำลังติดอาวุธด้วยทหาร 204,000 นาย (ข้าราชการพลเรือน +46,000 นาย) ไม่นับกองกำลังที่ถูกเพิ่มเติม เช่น หน่วยยามชายแดน (53,000 นาย) หน่วยพิทักษ์ชาติยูเครนที่เพิ่งถูกจัดตั้งขึ้นมาใหม่ (60,000 นาย) หรือหน่วยความมั่นคง[13] ใน ค.ศ. 2021 ขนาดของกองทัพยูเครนซึ่งประกอบไปด้วยจำนวน 246,445 นาย (บุคคลากรทางทหาร 195,626 นาย) ทำให้มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองในภูมิภาครองจากกองทัพรัสเซีย[14]

หน่วยทหารของประเทศอื่น ๆ ได้เข้าร่วมแบบประจำในการฝึกซ้อมทางทหารข้ามชาติกับกองกำลังยูเครนในยูเครน[15] การฝึกซ้อมมากมายเหล่านี้ถูกจัดขึ้นภายใต้หุ้นส่วนเพื่อสันติภาพ โครงการความร่วมมือของเนโท

ประวัติ

แก้

โครงสร้าง

แก้

งบประมาณ

แก้

บุคลากร

แก้

กำลังพลประจำการ

แก้

กำลังพลสำรอง

แก้

การศึกษา

แก้

ยุทธภัณฑ์

แก้

อาวุธประจำกาย

แก้

อาวุธประจำหน่วย

แก้
 
Ukrainian Su-25UB

เครื่องแบบ

แก้

ศาลทหาร

แก้

ความสัมพันธ์ทางทหาร

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Про Збройні Сили України - від 6 December 1991 № 1934-XII". zakon1.rada.gov.ua. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 มีนาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2012.
  2. Special Operations Forces, what will the new branch be like? เก็บถาวร 2015-09-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. ESPRESO. 22 April 2015
  3. Ukrainian Lawmakers Approve Reznikov As New Defense Minister, Radio Free Europe (4 November 2021)
  4. https://en.interfax.com.ua/news/general/758177.html Valeriy Zaluzhny appointed as Commander-in-Chief of Ukraine's Armed Forces instead of Khomchak – Zelensky's press secretary
  5. Zelensky appoints Khomchak Chief Commander of Armed Forces, Korniychuk Chief of General Staff, Interfax-Ukraine (28 March 2020)
  6. "Стаття 15. Призовний вік. Призов громадян України на строкову військову службу. На строкову військову службу в мирний час призиваються придатні для цього за станом здоров'я громадяни України чоловічої статі, яким до дня відправлення у військові частини виповнилося 18 років"
    Закон № 2232-XII від 25 March 1992 "Про військовий обов'язок і військову службу" (ред. від 15 January 2015)
  7. "Міністерством оборони визначено основні пріоритети фінансування на 2019 рік".
  8. https://www.globalfirepower.com/country-military-strength-detail.php?country_id=ukraine
  9. "Порошенко: В зоне АТО находятся 60 тысяч украинских военнослужащих". UNIAN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-27. สืบค้นเมื่อ 2015-06-26.
  10. CIA World Factbook, Military of Ukraine
  11. 11.0 11.1 https://www.pravda.com.ua/news/2019/10/8/7228477/
  12. Ponomarenko, Illia (2022-01-07). "Who can and can't join Ukraine's Territorial Defense Force". The Kyiv Independent (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2022-03-28.
  13. "Ukraine plans to double military budget against fighting in east". Deutsche Welle. 12 December 2014. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 February 2016. สืบค้นเมื่อ 9 February 2016.
  14. "Чисельність ЗСУ і витрати на утримання в 2021 році".
  15. "Parliament approves admission of military units of foreign states to Ukraine for exercises". Kyiv Post. 18 May 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 February 2016. สืบค้นเมื่อ 9 February 2016.

อ่านเพิ่ม

แก้
  • Andrew Bowen, "Ukrainian Armed Forces," Congressional Research Service เก็บถาวร 2021-11-30 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, June 23, 2021
  • Melanie Bright, The Jane's Interview: Yevhen Marchuk, Ukraine's Minister of Defence, Jane's Defence Weekly, 7 January 2004
  • John Jaworsky, "Ukraine's Armed Forces and Military Policy," Harvard Ukrainian Studies Vol. 20, UKRAINE IN THE WORLD: Studies in the International Relations and Security Structure of a Newly Independent State (1996), pp. 223–247
  • Kuzio, T., "Ukrainian Armed Forces in Crisis," Jane's Intelligence Review, 1995, Vol. 7; No. 7, page 305
  • Kuzio, T., "The organization of Ukraine's forces," Jane's Intelligence Review, June 1996, Vol. 8; No. 6, pages 254-258
  • Ben Lombardia, "Ukrainian armed forces: Defence expenditure and military reform," The Journal of Slavic Military Studies, Volume 14, Issue 3, 2001, pages 31–68
  • Mychajlyszyn, Natalie (2002). "Civil-Military Relations in Post-Soviet Ukraine: Implciations for Domestic and Regional Stability". Armed Forces & Society. Interuniversity Seminar on Armed Forces and Society. 28 (3): 455–479. doi:10.1177/0095327x0202800306. S2CID 145268260.
  • Walter Parchomenko, "Prospects for Genuine Reform in Ukraine's Security Forces," Armed Forces & Society, 2002, Vol. 28, No. 2
  • Brigitte Sauerwein, "Rich in Arms, Poor in Tradition," International Defence Review, No. 4, April 1993, 317–318.
  • J Sherr, "Ukraine: The Pursuit of Defence Reform in an Unfavourable Context," 2004, Defence Academy of the United Kingdom
  • J Sherr, "Into Reverse?: The Dismissal of Ukraine's Minister of Defence," 2004, Defence Academy of the United Kingdom
  • James Sherr, 'Ukraine's Defence Reform: An Update', Conflict Studies Research Centre, 2002
  • Sharon L. Wolchik, Ukraine: The Search for a National Identity. Rowman & Littlefield Publishers, 2000
  • Steven J Zaloga, "Armed Forces in Ukraine," Jane's Intelligence Review, March 1992, p. 135
  • Jane's Intelligence Review, September 1993, re Crimea
  • Woff, Richard, Armed Forces of the Former Soviet Union: Evolution, Structure and Personalities. London: Brassey's, c. 1996.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้