กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ (อังกฤษ: Orbiter Vehicle Designation: OV-105) เป็นกระสวยอวกาศลำที่ 5 ขององค์การนาซา สหรัฐอเมริกา หมายเลขประจำยาน คือ OV-105 (กระสวยอวกาศลำอื่นได้แก่ ดิสคัฟเวอรี และ แอตแลนติส) เอนเดฟเวอร์เป็นกระสวยอวกาศที่นาซาสร้างขึ้นใช้งานเป็นลำสุดท้าย
Endeavour | |
---|---|
กระสวยอวกาศอินเดฟเวอร์ OV-105 ขณะเตรียมส่งขึ้นสู่วงโคจร เมื่อ ปี 2002 | |
รหัส | OV-105 |
ประเทศ | นาซ่า สหรัฐอเมริกา |
วันทำสัญญา | 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 |
ตั้งชื่อตาม | เรือ HM Bark Endeavour |
สถานะ | ปลดประจำการ |
บินครั้งแรก | STS-49 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 - 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 |
บินครั้งสุดท้าย | STS-134 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ตามเวลาประเทศไทย |
สถิติภารกิจ | 25 |
สถิติวันที่บิน | 296 วัน 3 ช้วโมง 18 นาที 35 วินาที |
สถิติโคจร | 4,671 |
ระดับโคจร | 197,761,262 กม. (122,883,151 ไมล์) |
เทียบดาวเทียม | 3 |
เทียบสถานีอวกาศ | Mir 1 ครั้ง, ISS 12 ครั้ง |
เอนเดฟเวอร์ สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ทดแทนกระสวยอวกาศชาเลนเจอร์ ในวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 (ค.ศ. 1987) เริ่มบินครั้งแรกในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 (ค.ศ. 1992) ในภารกิจที่ STS-49 ยานอินเดฟเวอร์ได้รับเลือกให้ปฏิบัติภารกิจสำคัญมากมาย เช่น ปล่อยดาวเทียม เชื่อมต่อกับสถานีอวกาศเมียร์ของรัสเซีย และลำเลียงชิ้นส่วนของสถานีอวกาศนานาชาติ
กระสวยอวกาศเอนเดฟเวอร์ปฏิบัติภารกิจสุดท้ายคือ STS-134 วันที่ 16 พฤษภาคมพ.ศ. 2554 ถึงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และกระสวยอวกาศลำนี้ถูกปลดประจำการแล้ว
สถานะปัจจุบัน
แก้นาซ่าปลดประจำการ
การบิน
แก้ยานเอนเดฟเวอร์ได้ปฏิบัติภารกิจมาแล้วรวม 24 ภารกิจ (ครั้งล่าสุด วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2553) รวมเวลาอยู่ในอวกาศเป็นเวลา 280 วัน 9 ชั่วโมง 39 นาที 44 วินาที มีระยะการเดินทางรวม 166,003,247 กิโลเมตร หรือ 103,149,636 ไมล์
เครื่องหมายภารกิจ
แก้เครื่องหมายภารกิจสำหรับเที่ยวบินของอินเดฟเวอร์ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
STS-49 | STS-47 | STS-54 | STS-57 | STS-61 | STS-59 | STS-68 | STS-67 |
STS-69 | STS-72 | STS-77 | STS-89 | STS-88 | STS-99 | STS-97 | STS-100 |
STS-108 | STS-111 | STS-113 | STS-118 | STS-123 | STS-126 | STS-127 | STS-130 |
STS-134 |