กรดฟอร์มิก
กรดฟอร์มิก หรือกรดมด (อังกฤษ: Formic acid) เป็นกรดคาร์บอกซิลิกชนิดหนึ่งที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน มีสูตรโมเลกุลว่า CH2O2 และเรียกตามระบบ IUPAC ว่า กรดเมทาโนอิก (Methanoic acid), พบตามธรรมชาติในสัตว์จำพวกมดและผึ้ง ซึ่งมีไว้สำหรับป้องกันตัวจากศัตรู, โดยคำว่า "formic" ได้มาจากคำในภาษาละตินว่า formica ซึ่งแปลว่ามด
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Preferred IUPAC name
Formic acid[1] | |||
Systematic IUPAC name
Methanoic acid[1] | |||
ชื่ออื่น
Isocarbonous acid
Carbonous acid Formylic acid Methylic acid Hydrogencarboxylic acid Hydroxy(oxo)methane Metacarbonoic acid Oxocarbinic acid Oxomethanol Hydroxymethylene oxide | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
1209246 | |||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ดรักแบงก์ | |||
ECHA InfoCard | 100.000.527 | ||
EC Number |
| ||
เลขอี | E236 (preservatives) | ||
1008 | |||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
CH2O2 | |||
มวลโมเลกุล | 46.025 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของเหลวไม่มีสี มีควันออกมาจากของเหลว | ||
กลิ่น | Pungent, penetrating | ||
ความหนาแน่น | 1.220 g/mL | ||
จุดหลอมเหลว | 8.4 องศาเซลเซียส (47.1 องศาฟาเรนไฮต์; 281.5 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | 100.8 องศาเซลเซียส (213.4 องศาฟาเรนไฮต์; 373.9 เคลวิน) | ||
ผสมกันได้ | |||
ความสามารถละลายได้ | ผสมรวมกับอีเทอร์, แอซีโทน, เอทิลแอซิเตต, กลีเซอรอล, เมทานอล, เอทานอล ละลายได้บางส่วนใน เบนซีน, โทลูอีน, ไซลีน | ||
log P | −0.54 | ||
ความดันไอ | 35 mmHg (20 °C)[2] | ||
pKa | 3.745[3] | ||
เบส | Formate | ||
−19.90×10−6 ซm3/mol | |||
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.3714 (20 °C) | ||
ความหนืด | 1.57 cP at 268 °C | ||
โครงสร้าง | |||
Planar | |||
1.41 D (gas) | |||
อุณหเคมี | |||
Std molar
entropy (S⦵298) |
131.8 J/mol K | ||
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−425.0 kJ/mol | ||
Std enthalpy of
combustion (ΔcH⦵298) |
−254.6 kJ/mol | ||
เภสัชวิทยา | |||
QP53AG01 (WHO) | |||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก
|
Corrosive; irritant; sensitizer | ||
GHS labelling: | |||
อันตราย | |||
H314 | |||
P260, P264, P280, P301+P330+P331, P303+P361+P353, P304+P340, P305+P351+P338, P310, P321, P363, P405, P501 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | 69 องศาเซลเซียส (156 องศาฟาเรนไฮต์; 342 เคลวิน) | ||
601 องศาเซลเซียส (1,114 องศาฟาเรนไฮต์; 874 เคลวิน) | |||
ขีดจำกัดการระเบิด | 14–34%[ต้องการอ้างอิง] 18–57% (90% solution)[2] | ||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LD50 (median dose)
|
700 mg/kg (mouse, oral), 1100 mg/kg (rat, oral), 4000 mg/kg (dog, oral)[4] | ||
LC50 (median concentration)
|
7853 ppm (rat, 15 min) 3246 ppm (mouse, 15 min)[4] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible)
|
TWA 5 ppm (9 mg/m3)[2] | ||
REL (Recommended)
|
TWA 5 ppm (9 mg/m3)[2] | ||
IDLH (Immediate danger)
|
30 ppm[2] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | MSDS from JT Baker | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
กรดคาร์บอกซิลิกที่เกี่ยวข้อง
|
กรดแอซีติก กรดโพรพิโอนิก | ||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
ฟอร์มาลดีไฮด์ เมทานอล | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ประวัติการค้นพบ
แก้เมื่อปี พ.ศ. 2214 จอห์น เรย์ นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ เป็นบุคคลแรกที่ทราบถึงการสกัดกรดฟอร์มิก โดยการกลั่นมดจำนวนมาก ต่อมาโฌแซ็ฟ หลุยส์ แก-ลูว์ซัก นักเคมีชาวฝรั่งเศส ได้ค้นพบวิธีการสังเคราะห์กรดฟอร์มิกจากกรดไซยานิก และต่อมา Marcellin Berthelot นักเคมีชาวฝรั่งเศสได้ค้นพบวิธีสังเคราะห์จากคาร์บอนมอนอกไซด์ และใช้วิธีนี้มาจนปัจจุบัน
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 Favre, Henri A.; Powell, Warren H. (2014). Nomenclature of Organic Chemistry : IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013 (Blue Book). Cambridge: The Royal Society of Chemistry. p. 745. doi:10.1039/9781849733069. ISBN 978-0-85404-182-4.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0296". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ Smith, Robert M.; Martell, Arthur E. (1989). Critical Stability Constants Volume 6: Second Supplement. New York: Plenum Press. p. 299. ISBN 0-306-43104-1.
- ↑ 4.0 4.1 "Formic acid". Immediately Dangerous to Life or Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health. 4 December 2014. สืบค้นเมื่อ 26 March 2015.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ กรดฟอร์มิก