คาร์บอนมอนอกไซด์

คาร์บอนมอนอกไซด์ มีสูตรทางเคมี "CO" เป็นก๊าซที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส แต่มีความเป็นอันตรายอย่างร้ายแรงต่อระบบลำเลียงเลือด โมเลกุลประกอบไปด้วยคาร์บอนหนึ่งอะตอมและออกซิเจนหนึ่งอะตอมเชื่อมกันด้วยพันธะโควาเลนต์ อาจจัดได้ว่าเป็นสารประกอบแอนไฮไดรด์อย่างหนึ่งของกรดฟอร์มิก

คาร์บอนมอนอกไซด์
Ball-and-stick model of carbon monoxide
Ball-and-stick model of carbon monoxide
Spamodel of carbon monoxide
Spamodel of carbon monoxide
model of carbon monoxide
ชื่อ
IUPAC name
Carbon monoxide
ชื่ออื่น
Carbonic oxide gas
Carbon protoxide
Oxide of carbon
Protoxide of carbon
Carbonous oxide
Carbonous acid gas
Carbon(II) oxide
Breath of carbon
Oxygenated carbon
Carbate
Carbonyl
Water gas
Hydrocarbon gas
Fuel gas
Rauchgas
Carbonic inflammable air
Heavy inflammable air
White damp
Fire Damp
Powder Gas
Illuminating gas
Dowson gas
Mond gas
Power gas
Producer gas
Blast furnace gas
Coal gas
Phlogiston
Car gas
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
3587264
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.010.118 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 211-128-3
421
KEGG
MeSH Carbon+monoxide
RTECS number
  • FG3500000
UNII
UN number 1016
  • InChI=1S/CO/c1-2 checkY
    Key: UGFAIRIUMAVXCW-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/CO/c1-2
    Key: UGFAIRIUMAVXCW-UHFFFAOYAT
  • [C-]#[O+]
คุณสมบัติ
CO
มวลโมเลกุล 28.010 g·mol−1
ลักษณะทางกายภาพ ไม่มีสี
กลิ่น ไม่มีกลิ่น
ความหนาแน่น
  • 789 kg/m3, liquid
  • 1.250 kg/m3 at 0 °C, 1 atm
  • 1.145 kg/m3 at 25 °C, 1 atm
จุดหลอมเหลว −205.02 องศาเซลเซียส (−337.04 องศาฟาเรนไฮต์; 68.13 เคลวิน)
จุดเดือด −191.5 องศาเซลเซียส (−312.7 องศาฟาเรนไฮต์; 81.6 เคลวิน)
27.6 mg/L (25 °C)
ความสามารถละลายได้ ละลายได้ในคลอโรฟอร์ม, กรดแอซีติก, ethyl acetate, เอทานอล, ammonium hydroxide, เบนซีน
1.04 atm·m3/mol
−9.8·10−6 cm3/mol
1.0003364
0.122 D
อุณหเคมี
29.1 J/(K·mol)
Std molar
entropy
(S298)
197.7 J/(K·mol)
−110.5 kJ/mol
−283.0 kJ/mol
เภสัชวิทยา
V04CX08 (WHO)
ความอันตราย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH):
อันตรายหลัก
Poisonous by inhalation[1]
GHS labelling:
The flame pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The skull-and-crossbones pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)The health hazard pictogram in the Globally Harmonized System of Classification and Labelling of Chemicals (GHS)
อันตราย
H220, H331, H360, H372, H420
P201, P202, P210, P251, P260, P261, P264, P270, P281, P304+P340, P308+P313, P311, P314, P321, P377, P381, P403, P403+P233, P405, P501
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ −191 องศาเซลเซียส (−311.8 องศาฟาเรนไฮต์; 82.1 เคลวิน)
609 องศาเซลเซียส (1,128 องศาฟาเรนไฮต์; 882 เคลวิน)
ขีดจำกัดการระเบิด 12.5–74.2%
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC):
  • 8636 ppm (rat, 15 min)
  • 5207 ppm (rat, 30 min)
  • 1784 ppm (rat, 4 h)
  • 2414 ppm (mouse, 4 h)
  • 5647 ppm (guinea pig, 4 h)[2]
  • 4000 ppm (human, 30 min)
  • 5000 ppm (human, 5 min)[2]
NIOSH (US health exposure limits):[1]
PEL (Permissible)
TWA 50 ppm (55 mg/m3)
REL (Recommended)
  • TWA 35 ppm (40 mg/m3)
  • C 200 ppm (229 mg/m3)
IDLH (Immediate danger)
1200 ppm
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) ICSC 0023
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
แอนไอออนอื่น ๆ
Carbon monosulfide
แคทไอออนอื่น ๆ
Silicon monoxide
Germanium monoxide
Tin(II) oxide
เลด(II) ออกไซด์
คาร์บอนออกไซด์ที่เกี่ยวข้อง
คาร์บอนไดออกไซด์
คาร์บอนซับออกไซค์
Oxocarbons
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์เกิดจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของสารประกอบคาร์บอน โดยเฉพาะเครื่องยนต์สันดาปภายใน คาร์บอนมอนออกไซด์จะเกิดได้มากเมื่อออกซิเจนไม่เพียงพอในการสันดาป คาร์บอนมอนอกไซด์สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ เผาไหม้ในอากาศจะเกิดเปลวเพลิงสีน้ำเงินและให้คาร์บอนไดออกไซด์ออกมา แม้ว่าจะมีความเป็นพิษอย่างร้ายแรงคาร์บอนมอนออกไซด์ก็มีประโยชน์ในโลกปัจจุบันอย่างมากเพราะเป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อย่างอื่นนานาชนิด เช่น จากรถ บุหรี่ เป็นต้น

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0105". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  2. 2.0 2.1 "Carbon monoxide". Immediately Dangerous to Life and Health Concentrations (IDLH). National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
  3. Richard, Pohanish (2012). Sittig's Handbook of Toxic and Hazardous Chemicals and Carcinogens (2 ed.). Elsevier. p. 572. ISBN 978-1-4377-7869-4. สืบค้นเมื่อ 5 September 2015.
  4. "Carbon Monoxide - CAMEO Chemicals". cameochemicals.noaa.gov. US NOAA Office of Response and Restoration.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้