กมล วรรณประภา
กมล วรรณประภา เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลนายสัญญา ธรรมศักดิ์
กมล วรรณประภา | |
---|---|
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย | |
ดำรงตำแหน่ง 16 ตุลาคม 2516 – 22 พฤษภาคม 2517 | |
นายกรัฐมนตรี | สัญญา ธรรมศักดิ์ |
ก่อนหน้า | จอมพล ประภาส จารุเสถียร |
ถัดไป | พลตำรวจตรี อรรถสิทธิ์ สิทธิสุนทร |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม | |
ดำรงตำแหน่ง 18 ธันวาคม 2515 – 14 ตุลาคม 2516 | |
นายกรัฐมนตรี | จอมพล ถนอม กิตติขจร |
ก่อนหน้า | หลวงจำรูญเนติศาสตร์ (จำรูญ โปษยานนท์) |
ถัดไป | ประกอบ หุตะสิงห์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 11 มกราคม พ.ศ. 2453 |
เสียชีวิต | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2537 (84 ปี) |
คู่สมรส | ถาวรศิริ ณ นคร (หย่า) |
และอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร
ประวัติ
แก้กมล วรรณประภา เคยรับราชการในสังกัดกระทรวงยุติธรรม เคยดำรงตำแหน่งสูงสุดคือ อธิบดีกรมอัยการ และเคยได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกวุฒิสภาในพ.ศ. 2511[1]
ในการก่อการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2514 โดยจอมพล ถนอม กิตติขจร เขาได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในรัฐบาลจอมพล ถนอม กิตติขจร
ต่อมาในปี พ.ศ. 2516 ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลสัญญา ธรรมศักดิ์
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
แก้- พ.ศ. 2517 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[2]
- พ.ศ. 2511 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[3]
- พ.ศ. 2533 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นที่ 2 ทุติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ท.จ.ว.) (ฝ่ายหน้า)[4]
- พ.ศ. 2517 – เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 1 (ส.ช.)[5]
- พ.ศ. 2498 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)[6]
อ้างอิง
แก้- ↑ "รายชื่อสมาชิกวุฒิสภาชุดที่ ๓" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-04-13.
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๑๔๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๑๗ สิงหาคม ๒๕๑๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา,แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๑๒๒ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๗, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๗๔ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๑, ๔ พฤษภาคม ๒๕๓๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๙๑ ตอนที่ ๒๑๓ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๓, ๑๖ ธันวาคม ๒๕๑๗
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๙๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔๑๕, ๒๙ ธันวาคม ๒๔๙๘