ยุคพาลีโอจีน

(เปลี่ยนทางจาก Paleogene)

ยุคพาลีโอจีน (Paleogene) เป็นยุคหนึ่งทางธรณีกาลของโลก อยู่ระหว่าง 66 ± 0.3 ถึง 23 ± 0.05 ล้านปีมาแล้ว และเป็นยุคแรกของมหายุคซีโนโซอิก[5] ยุคนี้กินเวลาประมาณ 42 ล้านปี เป็นยุคที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมขนาดเล็ก มีรูปแบบเรียบง่ายได้วิวัฒนาการเป็นสัตว์ขนาดใหญ่ที่ซับซ้อน หลังเหตุการณ์การสูญพันธุ์ในยุคครีเทเชียส-เทอร์เชียรีในปลายยุคครีเทเชียส นกมีการวิวัฒนาการสู่รูปแบบในปัจจุบันในยุคนี้เช่นกัน

ยุคพาลีโอจีน
66.0 – 23.03 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
นิรุกติศาสตร์
ความเป็นทางการของชื่อทางการ
การสะกดแบบอื่นPalaeogene, Palæogene
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุโลก
การใช้ระดับภาคทั่วโลก (ICS)
การใช้ช่วงเวลาธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลายุค
หน่วยลำดับชั้นหินหินยุค
ความเป็นทางการของช่วงกาลทางการ
คำนิยามขอบล่างชั้นซึ่งอุดมไปด้วยธาตุอิริเดียมซึ่งเกี่ยวข้องกับการชนครั้งใหญ่ของอุกกาบาตและเป็นเหตุให้เกิดเหตุการณ์การสูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีนตามมา
ขอบล่าง GSSPแหล่งเอลเคฟ เอลเคฟ ประเทศตูนิเซีย
36°09′13″N 8°38′55″E / 36.1537°N 8.6486°E / 36.1537; 8.6486
การอนุมัติ GSSP1991[3]
คำนิยามขอบบน
ขอบบน GSSPแหล่งเลมเม-การ์โรซีโอ การ์โรซีโอ ประเทศอิตาลี
44°39′32″N 8°50′11″E / 44.6589°N 8.8364°E / 44.6589; 8.8364
การอนุมัติ GSSP1996[4]
ข้อมูลชั้นบรรยากาศและภูมิอากาศ
ปริมาณ O
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 26 % โดยปริมาตร
(130 % ของปัจจุบัน)
ปริมาณ CO
2
เฉลี่ยในชั้นบรรยากาศ
ประมาณ 500 ppm
(2 เท่าของยุคก่อนอุตสาหกรรม)
อุณหภูมิพื้นผิวเฉลี่ยประมาณ 18 °C
(สูงกว่าปัจจุบัน 4 °C)

ยุคพาลีโอจีนแบ่งเป็น 3 สมัย คือ สมัยพาลีโอซีน,สมัยอีโอซีน,สมัยโอลิโกซีน

อ้างอิง แก้

  1. Zachos, J. C.; Kump, L. R. (2005). "Carbon cycle feedbacks and the initiation of Antarctic glaciation in the earliest Oligocene". Global and Planetary Change. 47 (1): 51–66. Bibcode:2005GPC....47...51Z. doi:10.1016/j.gloplacha.2005.01.001.
  2. "International Chronostratigraphic Chart" (PDF). International Commission on Stratigraphy.
  3. Molina, Eustoquio; Alegret, Laia; Arenillas, Ignacio; José A. Arz; Gallala, Njoud; Hardenbol, Jan; Katharina von Salis; Steurbaut, Etienne; Vandenberghe, Noel; Dalila Zaghibib-Turki (2006). "The Global Boundary Stratotype Section and Point for the base of the Danian Stage (Paleocene, Paleogene, "Tertiary", Cenozoic) at El Kef, Tunisia - Original definition and revision" (PDF). Episodes. 29 (4): 263–278. doi:10.18814/epiiugs/2006/v29i4/004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 December 2012. สืบค้นเมื่อ 14 September 2012.
  4. Steininger, Fritz F.; M. P. Aubry; W. A. Berggren; M. Biolzi; A. M. Borsetti; Julie E. Cartlidge; F. Cati; R. Corfield; R. Gelati; S. Iaccarino; C. Napoleone; F. Ottner; F. Rögl; R. Roetzel; S. Spezzaferri; F. Tateo; G. Villa; D. Zevenboom (1997). "The Global Stratotype Section and Point (GSSP) for the base of the Neogene" (PDF). Episodes. 20 (1): 23–28. doi:10.18814/epiiugs/1997/v20i1/005.
  5. Formerly the period covered by the Paleogene was called the first part of the Tertiary, whose usage is no longer official. "Whatever happened to the Tertiary and Quaternary?"

แหล่งข้อมูลอื่น แก้

ก่อนหน้า
บรมยุคโพรเทอโรโซอิก
บรมยุคฟาเนอโรโซอิก
541 Ma - ปัจจุบัน
มหายุคพาลีโอโซอิก
541 Ma - 252 Ma
มหายุคมีโซโซอิก
252 Ma - 66 Ma
มหายุคซีโนโซอิก
66 Ma - ปัจจุบัน
แคมเบรียน ออร์โดวิเชียน ไซลูเรียน ดีโวเนียน คาร์บอนิเฟอรัส เพอร์เมียน ไทรแอสซิก จูแรสซิก ครีเทเชียส พาลีโอจีน นีโอจีน ควอเทอร์นารี