ทะเลสาบไปปัส

(เปลี่ยนทางจาก Lake Peipus)

ทะเลสาบไปปัส (เอสโตเนีย: Peipsi järv; รัสเซีย: Чудско-Псковское озеро, Псковско-Чудское озеро, อักษรโรมัน: Chudsko-Pskovskoye ozero, Pskovsko-Chudskoye ozero; อังกฤษ: Lake Peipus) เป็นทะเลสาบบริเวณชายแดนของประเทศเอสโตเนียและรัสเซีย[1] ถือเป็นทะเลสาบใหญ่เป็นอันดับ 5 ในยุโรป รองจากทะเลสาบลาโดกา และทะเลสาบโอเนกา ทางตอนเหนือของกรุงเซนต์ปีเตอร์เบิร์ก ประเทศรัสเซีย, ทะเลสาบแวแนร์นในสวีเดน และทะเลสาบไซมาในฟินแลนด์[2]

ทะเลสาบไปปัส
ภาพถ่ายดาวเทียม
ทะเลสาบไปปัสตั้งอยู่ในยุโรป
ทะเลสาบไปปัส
ทะเลสาบไปปัส
ที่ตั้งในทวีปยุโรป
ทะเลสาบไปปัสตั้งอยู่ในทะเลบอลติก
ทะเลสาบไปปัส
ทะเลสาบไปปัส
ที่ตั้งในภูมิภาคทะเลบอลติก
ทะเลสาบไปปัสตั้งอยู่ในรัสเซียฝั่งยุโรป
ทะเลสาบไปปัส
ทะเลสาบไปปัส
ที่ตั้งในรัสเซียฝั่งยุโรป
ที่ตั้งเอสโตเนีย รัสเซีย
พิกัด58°41′N 27°29′E / 58.683°N 27.483°E / 58.683; 27.483
ชื่อในภาษาแม่
แหล่งน้ำไหลเข้าหลักเวลิกายา, Emajõgi
แหล่งน้ำไหลออกนาร์วา
พื้นที่รับน้ำ47,800 km2 (18,500 sq mi)
ประเทศในลุ่มน้ำเอสโตเนีย ลัตเวีย และรัสเซีย
พื้นที่พื้นน้ำ3,555 ตารางกิโลเมตร (1,373 ตารางไมล์)
ความลึกโดยเฉลี่ย7.1 เมตร (23 ฟุต)
ความลึกสูงสุด15.3 เมตร (50 ฟุต)
ปริมาณน้ำ25 ลูกบาศก์กิโลเมตร (6.0 ลูกบาศก์ไมล์)
ความยาวชายฝั่ง1520 กิโลเมตร (320 ไมล์)
ความสูงของพื้นที่30 เมตร (98 ฟุต)
เกาะกาเมนกา, โคลปีนา, ปีริสซาร์
เมืองกัลลัสเต, Mustvee
1 ความยาวแนวชายฝั่งไม่ได้ถูกวัดอย่างละเอียด

ทะเลสาบไปปัสในปัจจุบันเป็นส่วนที่หลงเหลือจากทะเลสาบเดิมที่ใหญ่กว่านี้ตั้งแต่ในยุคน้ำแข็ง ครอบคลุมพื้นที่ 3,555 ตร.กม. มีความลึกเฉลี่ย 7.1 ม. และลึกสุดที่ 15 ม.[3][4] ทะเลสาบนี้มีเกาะหลายแห่ง และแบ่งออกเป็น 3 ส่วน:[5]

อ้างอิง

แก้
  1. Lake Peipus. Encyclopædia Britannica online
  2. The whispering waters of Estonia – Visit Estonia
  3. Чудско-Псковское озеро, Great Soviet Encyclopedia
  4. (ในภาษารัสเซีย) Russian lakes with area of more than 350 km². (GIF table). Retrieved on 2012-01-21.
  5. Gulnara Roll; Robben Romano (2001). "Challenges and opportunities for Development of an Effective Transboundary Water Management Regime in the Lake Peipus Basin: The Estonian–Russian Border Area". ใน Ganster, Paul (บ.ก.). Cooperation, Environment, and Sustainability in Border Regions. San Diego: San Diego State University Press. p. 288. Lake Peipus .... consists of three unequal parts: northern Lake Peipus ...; southern Lake Pskov ...; and the narrow, strait-like Lake Lämmi

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้