CoRoT
COROT (ย่อมาจาก COnvection ROtation and planetary Transits ; หรือ "การพา การหมุน และการเคลื่อนผ่านของดาวเคราะห์") คือปฏิบัติการทางอวกาศ นำโดยองค์การอวกาศฝรั่งเศส (CNES; French Space Agency) ร่วมมือกับองค์การอวกาศยุโรปและองค์กรนานาชาติอื่น มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ การค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบที่มีคาบโคจรสั้น โดยเฉพาะดวงที่มีลักษณะเป็นดาวเคราะห์คล้ายโลก และการตรวจวัดคาบการแกว่งตัวของดาวฤกษ์ (asteroseismology) ที่มีลักษณะคล้ายดวงอาทิตย์[3] COROT ถูกส่งออกสู่อวกาศเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ค.ศ. 2006 เวลา 14:28:00 UTC ด้วยจรวดนำส่งโซยูส[4][5][6] และรายงานแสงแรกกลับมาเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 2007[7] นับได้ว่า COROT เป็นยานอวกาศลำแรกที่อุทิศภารกิจแก่การค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบโดยเฉพาะ ดาวเคราะห์นอกระบบดวงแรกที่ COROT ตรวจพบคือ COROT-1b ตรวจพบเมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2007[8][9] เดิมคาดว่าปฏิบัติการจะสิ้นสุดภายในเวลา 2.5 ปีนับจากวันส่งขึ้น แต่นับถึงปัจจุบัน COROT ยังปฏิบัติหน้าที่อยู่และคาดว่าจะทำหน้าที่ไปจนถึงเดือนมกราคม ค.ศ. 2010[10]
CoRoT | |
---|---|
ดาวเทียม CoRoT ในห้องโถงรวมของตาแล็สอาเลนียาสเปซ เมืองกาน | |
ประเภทภารกิจ | กล้องโทรทรรศน์อวกาศ |
ผู้ดำเนินการ | CNES / ESA |
COSPAR ID | 2006-063A |
SATCAT no. | 29678 |
เว็บไซต์ | corot |
ระยะภารกิจ | วางแผน: 2.5 + 4 ปี สิ้นสุด: 7 ปี 5 เดือน 20 วัน |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ผู้ผลิต | CNES ตาแล็สอาเลนียาสเปซ |
มวลขณะส่งยาน | 630 กิโลกรัม (1,390 ปอนด์) |
มวลบรรทุก | 300 กิโลกรัม (660 ปอนด์) |
ขนาด | 2 โดย 4 เมตร (6.6 โดย 13.1 ฟุต) |
กำลังไฟฟ้า | ≈380 W |
เริ่มต้นภารกิจ | |
วันที่ส่งขึ้น | 27 ธันวาคม 2006, 14:24 UTC |
จรวดนำส่ง | โซยุซ 2.1b Fregat |
ฐานส่ง | บัยโกเงอร์ LC-31/6 |
ผู้ดำเนินงาน | เอเรียนสเปซ Starsem |
สิ้นสุดภารกิจ | |
การกำจัด | ปลดประจำการ |
ปิดการทำงาน | 17 มิถุนายน 2014, 10:27 UTC[1] |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบอ้างอิง | วงโคจรค้างฟ้า |
ระบบวงโคจร | วงโคจรขั้วโลก |
กึ่งแกนเอก | 7,123 กิโลเมตร (4,426 ไมล์)[2] |
ความเยื้อง | 0.0203702[2] |
ระยะใกล้สุด | 607.8 กิโลเมตร (377.7 ไมล์)[2] |
ระยะไกลสุด | 898.1 กิโลเมตร (558.1 ไมล์)[2] |
ความเอียง | 90.0336 องศา[2] |
คาบการโคจร | 99.7 นาที[2] |
ลองจิจูดของจุดโหนดขึ้น | 13.64 องศา[2] |
มุมของจุดใกล้ที่สุด | 148.21 องศา[2] |
มุมกวาดเฉลี่ย | 213.16 องศา[2] |
การเคลื่อนไหวเฉลี่ย | 14.44 รอบต่อวัน[2] |
วันที่ใช้อ้างอิง | 8 มีนาคม 2016, 11:58:39 UTC[2] |
รอบการโคจร | 47715 |
กล้องโทรทรรศน์หลัก | |
ชนิด | โฟคอล |
เส้นผ่านศูนย์กลาง | 27 เซนติเมตร (11 นิ้ว) |
ระยะโฟกัส | 1.1 เมตร (43 นิ้ว) |
ความยาวคลื่น | แสงที่ตามองเห็น |
อ้างอิง
แก้- ↑ "Events Archive: Last telecommand sent to Corot satellite". CNES. 17 June 2014. สืบค้นเมื่อ 10 July 2018.
- ↑ กระโดดขึ้นไป: 2.00 2.01 2.02 2.03 2.04 2.05 2.06 2.07 2.08 2.09 2.10 "COROT Satellite details 2006-063A NORAD 29678". N2YO. 8 March 2016. สืบค้นเมื่อ 16 June 2015.
- ↑ "Europe goes searching for rocky planets" (Press release). ESA. 2006-10-26. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Successful launch of the COROT satellite, on 27 December 2006". COROT 2006 Events. CNES. 2007-05-24. สืบค้นเมื่อ 2008-08-02.
- ↑ Clark, Stephen (2006-12-27), "Planet-hunting space telescope launched", Spaceflight Now, Pole Star Publications, สืบค้นเมื่อ 2008-08-02
- ↑ Bergin, Chris (2006-12-27). "Soyuz 2-1B launches with COROT". NASA SpaceFlight.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-06-29. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.
- ↑ Hellemans, Alexander (2007-01-18), "COROT sees first light", Physics World (online edition), IOP Publishing, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-17, สืบค้นเมื่อ 2008-08-02
- ↑ "COROT discovers its first exoplanet and catches scientists by surprise" (Press release). ESA. 2007-05-03. สืบค้นเมื่อ 2008-08-02.
- ↑ "Success for the first observations by the Corot satellite : An exoplanet discovered and first stellar oscillations" (Press release). CNRS. 2007-05-03. สืบค้นเมื่อ 2008-08-02.
- ↑ "COROT Satellite". COROT. CNES. 2006-09-18. สืบค้นเมื่อ 2008-08-02.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้ภาพรวมในสื่อต่างๆ
แก้- CoRoT N2 Public archive เก็บถาวร 2009-02-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- "Europe goes searching for rocky planets" (Press release). ESA. 2006-10-26. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.[ลิงก์เสีย]
- Hellemans, Alexander (September 2007), "Dangling a COROT", Scientific American, Scientific American, Inc., vol. 297 no. 3, p. 32, สืบค้นเมื่อ 2008-08-03 Note: only first two paragraphs are free online
- (Staff) (2007-12-26). "Space telescope to hunt planets". BBC News. BBC. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.
(subtitle) The French-led Corot mission has taken off from Kazakhstan on a quest to find planets outside our Solar System.
เกี่ยวกับปฏิบัติการ
แก้- "COROT". Universe Sciences: Astronomy. CNES. 2008-07-29. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-11-08. สืบค้นเมื่อ 2008-08-02.
- "COROT Mission". extrasolar-planets.com. (unknown). 2008-02-14. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-26. สืบค้นเมื่อ 2008-08-02.
- "COnvection ROtation and planetary Transits". Observatoire Astronomique de Marseille Provence (OAMP). 2008-05-19. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-07. สืบค้นเมื่อ 2008-08-02.
- "COROT overview". Space Science. European Space Agency (ESA). 2007-05-08. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.
- "COROT". Solar System Exploration. NASA. 2007-01-26. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-09-24. สืบค้นเมื่อ 2008-08-03.