โว้ก (นิตยสาร)

นิตยสารแฟชั่น ครรลองชีวิต และสื่อตราสินค้าของชาวอเมริกัน

โว้ก (อังกฤษ: Vogue) เป็นนิตยสารแฟชั่นและครรลองชีวิตของชาวอเมริกัน ที่ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลายอย่าง เช่น แฟชั่น ความงาม วัฒนธรรม การใช้ชีวิต และเวทีเดินแบบ โว้กเริ่มทำนิตยสารรายสัปดาห์ในปี ค.ศ. 1892 ในสหรัฐอเมริกาก่อนที่จะกลายเป็นนิตยสารรายเดือนในภายหลัง

โว้ก
บรรณาธิการ แอนนา วินเทอร์
ประเภท แฟชั่น
นิตยสารราย เดือน
ผู้พิมพ์ กงเดนาสต์
ยอดพิมพ์จำหน่ายรวม
(2016)
1,242,282[1]
ปีที่ก่อตั้ง (1892-12-17) 17 ธันวาคม ค.ศ. 1892 (131 ปี)
ประเทศ สหรัฐ
เมือง วันเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์
นครนิวยอร์ก, รัฐนิวยอร์ก 10007
สหรัฐ
ภาษา อังกฤษ
เว็บไซต์ vogue.com
เลขมาตรฐานสากลสำหรับนิตยสาร (ISSN) 0042-8000

บริติชโว้ก เป็นฉบับต่างประเทศฉบับแรกที่เปิดตัวครั้งแรกในปี ค.ศ. 1916 ในขณะที่ โว้กอิตาเลีย เวอร์ชันของอิตาลีได้รับการขนานนามว่าเป็นนิตยสารแฟชั่นชั้นนำของโลก[2] และปัจจุบันมีโว้กฉบับต่างประเทศทั้งหมดรวม 26 ฉบับ

ประวัติ

แก้
 
ปกนิตยสารในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2460 (โว้กอเมริกัน)

ช่วงปีแรก ๆ

แก้

ในปี ค.ศ. 1892 อาร์เทอร์ บอลด์วิน เทอร์นอร์ เป็นนักธุรกิจชาวอเมริกันผู้ก่อตั้ง นิตยสารโว้ก เป็นนิตยสารรายสัปดาห์ในสหรัฐอเมริกา ได้รับการสนับสนุนโดยคริสโตเฟอร์ ไรต์[3] ฉบับแรกได้รับการตีพิมพ์ในวันที่ 17 ธันวาคมของปีนั้น ด้วยราคาปิด 10 เซ็นต์ [4] เนื้อหาของนิตยสารจะเติบโตช้ามากในช่วงเวลานี้

ค.ศ. 1905-1920: คอนเด นาสท์

แก้

คอนเด นาสท์ ซื้อโว้กในปี ค.ศ. 1905 หนึ่งปีก่อนการตายของเทอร์นอร์ และค่อย ๆ ขยายการตีพิมพ์ เขาเปลี่ยนไปเป็นนิตยสารรายปักษ์ และเริ่มโว้กต่างประเทศในปี ค.ศ. 1910 นาสท์ได้เปลี่ยนความสนใจของนิตยสารไปที่ผู้หญิง และในไม่ช้าราคาของนิตยสารก็เพิ่มขึ้น จำนวนสิ่งพิมพ์และผลกำไรของนิตยสารเพิ่มขึ้นอย่างมากภายใต้การบริหารของนาสท์ จนถึงปี ค.ศ. 1911 แบรนด์โว้ก ได้รับชื่อเสียงว่ายังคงรักษาเป้าหมายไว้ และเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ยอดเยี่ยม

ค.ศ. 1920-1970: การขยายตัว

แก้

จำนวนสมาชิกนิตยสารเพิ่มขึ้นในช่วงภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ และอีกครั้งในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง

ในเดือนกรกฎาคมปี ค.ศ. 1932 นิตยสารเปิดตัวภาพปกสีเป็นครั้งแรก ถ่ายโดยช่างภาพเอ็ดเวิร์ด สไตเชน เป็นรูปนางแบบแสดงท่าทางในชุดว่ายน้ำที่กำลังยกลูกบอลชายหาด[5]

ในปี ค.ศ. 1930 นิตยสารได้ลดภาพประกอบแฟชั่นลง และพวกเขาเริ่มเปลี่ยนเป็นการถ่ายภาพจากศิลปินคนดังต่าง ๆ[6]

ในปี ค.ศ. 1960 ไดอาน่า วีนแลนด์ ได้ขึ้นเป็นหัวหน้าบรรณาธิการนิตยสารโว้ก ได้มีการมุ่งเน้นที่แฟชั่นร่วมสมัย การปฏิวัติทางเพศ การกล่าวถึงเรื่องเพศอย่างเปิดเผย[7]

ในปี ค.ศ. 1973 โว้กได้เปลี่ยนเป็นนิตยสารรายเดือน[8] ภายใต้หัวหน้าบรรณาธิการ เกรซ มิราเบลลา[9]

ค.ศ. 1988-ปัจจุบัน: การนำของแอนนา วินเทอร์

แก้

ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1988 แอนนา วินเทอร์ หัวหน้าบรรณาธิการของโว้กคนใหม่[10][11] เธอพยายามที่จะทำให้ทุกคนเข้าถึงนิตยสารได้ง่ายขึ้น มุ่งเน้นไปที่แนวคิดใหม่ การเข้าถึงแฟชั่นสำหรับผู้ชมที่กว้างขึ้น[12][13]

ฉบับพิเศษ

แก้

บุคคลที่ได้รับให้มีความสำคัญในการถ่ายปกนิตยสารโว้กอเมริกัน[14][15][16]

บรรณาธิการของฉบับนานาชาติ

แก้

บุคคลที่ได้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าบรรณาธิการของ นิตยสารโว้ก

ประเทศ ปีปฏิบัติการ บรรณาธิการ เริ่ม สิ้นสุด
สหรัฐ (Vogue) 1892–ปัจจุบัน Josephine Redding 1892 1901
Marie Harrison 1901 1914
Edna Woolman Chase 1914 1951
Jessica Daves 1952 1963
Diana Vreeland 1963 1971
Grace Mirabella 1971 1988
Anna Wintour 1988 ปัจจุบัน
สหราชอาณาจักร (Vogue) 1916–ปัจจุบัน Elspeth Champcommunal 1916 1922
Dorothy Todd 1923 1926
Alison Settle 1926 1934
Elizabeth Penrose 1934 1940
Audrey Withers 1940 1961
Ailsa Garland 1961 1965
Beatrix Miller 1965 1984
Anna Wintour 1985 1987
Liz Tilberis 1988 1992
Alexandra Shulman 1992 2017
Edward Enninful 2017 ปัจจุบัน
ฝรั่งเศส (Vogue Paris) 1920–ปัจจุบัน Cosette Vogel 1922 1927
Main Bocher 1927 1929
Michel de Brunhoff 1929 1954
Edmonde Charles-Roux 1954 1966
Françoise de Langlade 1966 1968
Francine Crescent 1968 1987
Colombe Pringle 1987 1994
Joan Juliet Buck 1994 2001
Carine Roitfeld 2001 2010
Emmanuelle Alt 2011 ปัจจุบัน
นิวซีแลนด์ (โว้กนิวซีแลนด์)[17] 1957–1968 edited from the UK[18] 1957 1959
Sheila Scotter 1959 1968
ออสเตรเลีย (Vogue Australia) 1959–ปัจจุบัน Rosemary Cooper 1959 1962
Sheila Scotter 1962 1971
Eve Harman 1971 1976
June McCallum 1976 1989
Nancy Pilcher 1989 1997
Marion Hume 1997 1998
Juliet Ashworth 1998 1999
Kirstie Clements 1999 2012
Edwina McCann 2012 ปัจจุบัน
อิตาลี (Vogue Italia) 1964–ปัจจุบัน Consuelo Crespi 1964 1966
Franco Sartori 1966 1988
Franca Sozzani 1988 2016
Emanuele Farneti 2017 ปัจจุบัน
บราซิล (Vogue Brasil) 1975–ปัจจุบัน Luis Carta 1975 1986
Andrea Carta 1986 2003
Patricia Carta 2003 2010
Daniela Falcão 2010 2016
Silvia Rogar 2016 2018
Paula Merlo 2018 ปัจจุบัน
เยอรมนี (Vogue Deutsch) 1928–1929

1979–ปัจจุบัน

Christiane Arp 2003[19] 2020
สเปน (Vogue España) 1988–ปัจจุบัน Luis Carta 1988 1994
Yolanda Sacristán 1994 2017
Eugenia de la Torriente 2017 ปัจจุบัน
สิงค์โปร์ (Vogue Singapore) 1994–1997

2020–ปัจจุบัน

Nancy Pilcher 1994 1997
Norman Tan 2020 ปัจจุบัน
เกาหลีใต้ (Vogue Korea) 1996–ปัจจุบัน Myung Hee Lee 1996 2016
Kwang-ho Shin (신광호) 2016 ปัจจุบัน
ไต้หวัน (Vogue) 1996–ปัจจุบัน Sky Wu 1996 2020
Leslie Sun (孫怡) 2020 ปัจจุบัน
รัสเซีย (Vogue Россия) 1998–ปัจจุบัน Aliona Doletskaya 1998 2010
Victoria Davydova 2010 ปัจจุบัน
ญี่ปุ่น (Vogue Japan) 1999–ปัจจุบัน Hiromi Sogo 1999 2001
Mitsuko Watanabe 2001 ปัจจุบัน
เม็กซิโกและลาตินอเมริกา (Vogue México and Vogue Latinoamérica) 1980–ปัจจุบัน Eva Hughes[20] 2002 2012
Kelly Talamas 2012 2016
Karla Martínez[21] 2016 ปัจจุบัน
กรีซ (Vogue Greece) 2000–2012

2019–present[22]

Elena Makri 2000 2012
Thaleia Karafyllidou 2018 ปัจจุบัน
โปรตุเกส (Vogue Portugal) 2002-ปัจจุบัน Paula Mateus 2002 2017
Sofia Lucas 2017 ปัจจุบัน
จีน (Vogue China, 服饰与美容) 2005–ปัจจุบัน Angelica Cheung 2005 2020
Margaret Zhang (章凝) 2021 ปัจจุบัน
อินเดีย (Vogue India) 2007–ปัจจุบัน Priya Tanna 2007 ปัจจุบัน
ตุรกี (Vogue Türkiye) 2010–ปัจจุบัน Seda Domaniç 2010 2020
Zeynep Yapar 2020 2020
Debora Zakuto 2020 ปัจจุบัน
เนเธอร์แลนด์ (Vogue Nederland) 2012–2021 Karin Swerink 2012 2019
Rinke Tjepkema 2019 2021
ไทย (Vogue Thailand) 2013–ปัจจุบัน กุลวิทย์ เลาสุขศรี 2013 ปัจจุบัน[23]
ยูเครน (Vogue UA) 2013–ปัจจุบัน Masha Tsukanova 2013 2016
Olga Sushko 2016 2018[24]
Philipp Vlasov 2019[25] ปัจจุบัน
อาระเบีย (Vogue Arabia) 2016–ปัจจุบัน Deena Aljuhani Abdulaziz 2016 2017
Manuel Arnaut 2017 ปัจจุบัน
โปแลนด์ (Vogue Polska) 2018–ปัจจุบัน Filip Niedenthal 2017 2021
Ina Lekiewicz 2021 present[26]
สาธารณรัฐเช็ก & สโลวาเกีย (Vogue CS) 2018–ปัจจุบัน Andrea Běhounková 2018 ปัจจุบัน
ฮ่องกง (Vogue Hong Kong) 2019–ปัจจุบัน Peter Wong (黃源順)[27] 2019 ปัจจุบัน
สแกนดิเนเวีย (Vogue Scandinavia) 2021 Martina Bonnier[28] 2020 ปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. "Consumer Magazines". Alliance for Audited Media. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ มกราคม 23, 2017. สืบค้นเมื่อ กรกฎาคม 5, 2017.
  2. Press, Debbie (2004). Your Modeling Career: You Don't Have to Be a Superstar to Succeed. New York: Allworth Press. ISBN 978-1-58115-359-0.
  3. Penelope Rowlands (2008) A Dash of Daring: Carmel Snow and Her Life in Fashion, Art, and Letters Simon and Schuster, 2008
  4. Esfahani Smith, Emily (26 June 2013). "The Early Years of Vogue Magazine". acculterated.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-25. สืบค้นเมื่อ 6 October 2013.
  5. Oloizia, Jeff. "The 10 Most Groundbreaking Covers in the History of Vogue". T Magazine (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2017-03-29.
  6. Laird Borrelli (2000). Fashion Illustration Now (illustrated, reprint ed.). Thames and Hudson. ISBN 9780500282342. Fashion Illustration has gone from being one of the sole means of fashion communication to having a very minor role. The first photographic cover of Vogue was a watershed in the history of fashion illustration and a watershed mark of its decline. Photographs, no matter how altered or retouched, will always have some association with reality and by association truth. I like to think of them [fashion Illustrations] as prose poems and having more fictional narratives. They are more obviously filtered through an individual vision than photos. Illustration lives on, but in the position of a poor relative to the fashion.
  7. Vogue (15 February 1968)
  8. "Advertisement - Vogue Magazine". ecollections.scad.edu. Scad Libraries. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-10. สืบค้นเมื่อ 7 October 2013.
  9. Mirabella, Grace (1995). "In and Out of Vogue". Doubleday.
  10. "Vogue – Editor-in-chief Bio". Condé Nast. Condé Nast. May 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-22. สืบค้นเมื่อ 16 May 2013.
  11. "Anna Wintour". Biography (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2017-03-29.
  12. Coddington, Grace (2012). Grace: A Memoir. New York: Random House. ISBN 0449808068.
  13. Orecklin, Michelle (9 February 2004). "The Power List: Women in Fashion, No 3 Anna Wintour". Time magazine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-01-03. สืบค้นเมื่อ 29 January 2007.
  14. "Ryan Lochte Is the Fourth Man to ver Cover Vogue - The Cut". Nymag.com. 14 May 2012. สืบค้นเมื่อ 4 June 2013.
  15. "LeBron becomes one of only three men to grace cover of Vogue - NBA - ESPN". Sports.espn.go.com. 13 March 2008. สืบค้นเมื่อ 4 June 2013.
  16. "Vogue Olympic Cover Featuring Hope Solo, Ryan Lochte, and Serena Williams (PHOTOS)". Global Grind. 14 May 2012. สืบค้นเมื่อ 4 June 2013.
  17. "A decade of Vogue New Zealand". Vogue Australia. June 29, 2011. สืบค้นเมื่อ October 11, 2018.
  18. "Vogue New Zealand ..." nznewsuk. September 20, 2012. สืบค้นเมื่อ October 11, 2018.
  19. Vogue Germany, vogue.de, สืบค้นเมื่อ May 22, 2014
  20. "Eva Hughes is the new CEO for Condé Nast Mexico and Latin America". Portada. 2012-01-11. สืบค้นเมื่อ 2017-01-10.
  21. "Quienes Somos". Vogue México. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-01-26. สืบค้นเมื่อ 2017-01-09.
  22. Victoria Berezhna (September 19, 2018). "Condé Nast to Re-Launch Vogue in Greece". Business of Fashion. สืบค้นเมื่อ November 3, 2018.
  23. "Thailand Vogue". Conde Naste International. Conde Naste International. May 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-12. สืบค้นเมื่อ 16 May 2013.
  24. Luhn, Alec (November 1, 2018). "Ukrainian Vogue editor suspended for plagiarism of Russian authors". The Telegraph (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ March 11, 2019.
  25. "Philipp Vlasov – new Editor-in-Chief of VOGUE UA" (ภาษาอังกฤษ). December 17, 2018. สืบค้นเมื่อ March 11, 2019.
  26. "Ina Lekiewicz nową redaktor naczelną 'Vogue Polska'. Odchodzi Filip Niedenthal". www.wirtualnemedia.pl (ภาษาโปแลนด์). สืบค้นเมื่อ 2021-06-16.
  27. "Condé Nast International Takes Vogue to Hong Kong". Jing Daily. 2019-03-01. สืบค้นเมื่อ 2019-04-01.
  28. "Why Vogue is launching in Scandinavia now". Vogue Business (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2020-08-27.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้