โรซัส (จังหวัดคาปิซ)

โรซัส เป็นนครระดับที่ 3 และเป็นเมืองศูนย์กลางของจังหวัดคาปิซ ประเทศฟิลิปปินส์ ในปี ค.ศ. 2015 มีประชากร 167,003 คน โดยก่อนหน้านี้ นครเคยเป็นเทศบาลมี่ชื่อว่า คาปิซ มาก่อน และสถาปนาเป็นนครเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1951 โดยตั้งชื่อนครตามมานูเอล โรฮัส ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์คนที่ 4

โรซัส
นคร
ภาพถ่ายทางอากาศ
ภาพถ่ายทางอากาศ
สมญา: 
เมืองแห่งอาหารทะเลของฟิลิปปินส์
ที่ตั้งในจังหวัดคาปิซ
ที่ตั้งในจังหวัดคาปิซ
ประเทศ ฟิลิปปินส์
เขตคันลูรังคาบีซายาอัน
จังหวัดคาปิซ
District1st district of Capiz
ก่อตั้งค.ศ. 1569
เป็นนคร12 พฤษภาคม ค.ศ. 1951
ตั้งชื่อจากมานูเอล โรฮัส
บารังไกย์47
การปกครอง[1]
 • ประเภทSangguniang Panlungsod
 • นายกเทศมนตรีAngel Alan B. Celino
 • รองนายกเทศมนตรีErwin B. Sicad
 • สิทธิ์เลือกตั้ง95,061 คน (ค.ศ. 2016)
พื้นที่[2]
 • ทั้งหมด95.07 ตร.กม. (36.71 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (ค.ศ. 2015)[3]
 • ทั้งหมด167,003 คน
 • ความหนาแน่น1,800 คน/ตร.กม. (4,500 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+8 (PST)
รหัสไปรษณีย์5800
PSGC061914000
ไอดีดี:รหัสโทรศัพท์+63 (0)36
ภูมิอากาศเขตร้อน
ระดับรายได้นครระดับที่ 3
เว็บไซต์www.roxascity.gov.ph

โรซัสเป็นศูนย์กลางของเกาะปาไนย์ ทั้งในด้านการศึกษา การค้า และเศรษฐกิจ[4] นอกจากนี้ยังมีท้องทะเลที่อุดมสมบูรณ์ จนได้่รับฉายา "เมืองแห่งอาหารทะเลของฟิลิปปินส์" นครแห่งนี้ได้รับรางวัลนครที่สะอาดที่สุดในภูมิภาคคันลูรังคาบีซายาอัน ในงานประกวดความสะอาดและสิ่งแวดล้อมของ Gawad Pangulo sa Kapaligiran (GPK) และกรมสาธารณสุข (DOH) ยังจัดให้ที่นี่เป็นนครที่ปลอดยาสูบอย่างสมบูรณ์[5] นอกจากนี้ยังได้รับตราประทับเมืองที่ดูแลรักษาความสะอาดยอดเยี่ยมจากกรมการปกครองภายใน (DILG)[6] และชนะเลิศสถานีตำรวจที่ดีที่สุดในภูมิภาค จัดอันดับโดยกรมตำรวจแห่งชาติฟิลิปปินส์[7]

ภูมิอากาศ แก้

ข้อมูลภูมิอากาศของนครโรซัส
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 29.2
(84.6)
29.5
(85.1)
30.5
(86.9)
32.0
(89.6)
32.7
(90.9)
32.6
(90.7)
32.2
(90)
32.3
(90.1)
32.1
(89.8)
31.6
(88.9)
30.8
(87.4)
29.8
(85.6)
31.3
(88.3)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 26.4
(79.5)
26.5
(79.7)
27.2
(81)
28.5
(83.3)
28.9
(84)
28.4
(83.1)
28.0
(82.4)
28.1
(82.6)
27.9
(82.2)
27.8
(82)
27.6
(81.7)
26.9
(80.4)
27.7
(81.9)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 23.6
(74.5)
23.5
(74.3)
24.0
(75.2)
25.1
(77.2)
25.1
(77.2)
24.3
(75.7)
23.9
(75)
23.9
(75)
23.8
(74.8)
24.0
(75.2)
21.4
(70.5)
24.1
(75.4)
24.1
(75.4)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 115.9
(4.563)
50.4
(1.984)
56.7
(2.232)
57.7
(2.272)
146.2
(5.756)
253.0
(9.961)
246.9
(9.72)
232.6
(9.157)
240.4
(9.465)
321.6
(12.661)
225.0
(8.858)
172.4
(6.787)
2,118.8
(83.417)
ความชื้นร้อยละ 79 79 82 83 78 75 78 80 80 81 81 80 80
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย (≥ 0.10 mm) 14 10 9 5 10 16 17 17 17 19 17 17 168
แหล่งที่มา: PAGASA[8]

เมืองพี่น้อง แก้

ในประเทศ แก้

ระหว่างประเทศ แก้

อ้างอิง แก้

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-05-30. สืบค้นเมื่อ 2013-05-30.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-12. สืบค้นเมื่อ 2018-04-23.
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-02-15. สืบค้นเมื่อ 2018-04-23.
  4. Webmaster. "Roxas City: From Seafood Capital to Logistics Hub of Panay Island". www.roxascity.gov.ph. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-21. สืบค้นเมื่อ 2016-08-04.
  5. Webmaster. "Roxas City is Red Orchid 'Hall of Fame' awardee". roxascity.gov.ph. สืบค้นเมื่อ 2016-08-04.
  6. Webmaster. "Seal of good financial housekeeping bestowed on Roxas City gov't three times". www.roxascity.gov.ph. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-08. สืบค้นเมื่อ 2016-08-04.
  7. "Roxas City has 'best police station' in WV". thedailyguardian.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-26. สืบค้นเมื่อ 2016-08-04.
  8. "Climatological Normals of the Philippines (1951-1985) (PAGASA 1987)" (PDF). PAGASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-05-16. สืบค้นเมื่อ 18 April 2016.
  9. Roxas City: Quezon City's New Sister City[ลิงก์เสีย]
  10. "Sister Cities Of San Bernardino". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-06. สืบค้นเมื่อ 2018-04-23.
  11. Guam, Philippines share long history of sister cities
  12. "Sister/Twin Cities of Balıkesir" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-07-01. สืบค้นเมื่อ 2018-04-23.

แหล่งข้อมูลอื่น แก้