ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์

ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ (ฟิลิปปินส์: Pangulo ng Pilipinas) หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ประธานาธิบดีเป็นผู้นำของฝ่ายบริหารของรัฐบาลฟิลิปปินส์และเป็นผู้บัญชาการทหารแห่งกองทัพฟิลิปปินส์ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ในภาษาฟิลิปีโนจะเรียกว่า Ang Pangulo หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า Presidente

ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์
Pangulo ng Pilipinas
ตราประจำตำแหน่ง
ธงประจำตำแหน่ง
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
บองบอง มาร์กอส

ตั้งแต่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565
รัฐบาลฟิลิปปินส์
สำนักงานประธานาธิบดี
ที่ว่าการมะนิลา ฟิลิปปินส์
ผู้แต่งตั้งคะแนนเสียงจากการเลือกตั้งโดยตรง
วาระ6 ปี (วาระเดียว)
ตราสารจัดตั้งรัฐธรรมนูญฟิลิปปินส์ ค.ศ. 1987
ตำแหน่งก่อนหน้าผู้สำเร็จราชการ
นายกรัฐมนตรี[a]
ผู้ประเดิมตำแหน่งเอมิลิโอ อากินัลโด
(อย่างเป็นทางการ)a
มานูเอล เอเล. เกซอน
(อย่างเป็นทางการ)[b]
สถาปนา23 มกราคม พ.ศ. 2442
(อย่างเป็นทางการ)[1][c]
15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2478
(อย่างเป็นทางการ)[2][b]
คนแรกเอมีลีโอ อากีนัลโด
เงินตอบแทน411,382/US$ 7,409 ต่อเดือน[d][3][4][5][6]
เว็บไซต์op-proper.gov.ph

อำนาจและหน้าที่ แก้

ประธานฝ่ายบริหาร แก้

ภายใต้มาตรา 7 วรรคที่ 1 ของรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ประธานาธิบดีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารของรัฐบาล ซึ่งรวมถึงคณะรัฐมนตรีและหน่วยงานริหาร อำนาจบริหารเป็นของประธานาธิบดีเพียงผู้เดียว[3]

มาตรา 19 ให้อำนาจประธานาธิบดีที่จะผ่อนปรน ปรับลด และอภัยโทษ และยกเงินค่าปรับและค่าสินไหมหลังจากที่คดีถูกพิพากษาโดยศาลถึงที่สุดแล้ว ยกเว้นเมื่อประธานาธิบดีอยู่ระหว่างถูกฟ้องร้อง[3]

มาตรา 20 ให้ประธานาธิบดีในการทำสนธิสัญญาหรือกู้ยืมเงินจากต่างประเทศในนามของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ด้วยความเห็นชอบของคณะกรรมการการเงินระหว่างประเทศและภายใต้ข้อจำกัดของกฎหมาย[3]

ปรธานาธิบดี ยังเป็นผู้กำกับดูแลหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น

ผู้บัญชาการทหาร แก้

มาตรา 7 วรรคที่ 18 ของรัฐธรรมนูญ "ประธานาธิบดีเป็นผู้บัญชาการทหารแห่งกองทัพฟิลิปปินส์" ในฐานะที่เป็นผู้บัญชาการทหาร ประธานาธิบดีสามารถสั่งการกองกำลังติดอาวุธดังกล่าวเพื่อป้องกันหรือปราบปรามความรุนแรงที่ผิดกฎหมายหรือการจลาจล ในกรณีของการบุกรุกหรือการก่อจลาจลเพื่อความปลอดภัยของประชาชน ประธานาธิบดีอาจใช้ระยะเวลาไม่เกินหกสิบวันระงับสิทธิ์ของคำสั่งของศาลภายใต้กฎอัยการศึก[3]

หมายเหตุ แก้

  1. ในฐานะหัวหน้ารัฐบาล
  2. 2.0 2.1 From an international standpoint at that time, the First Philippine Republic never existed but rather, Spain ceded its Spanish East Indies to the United States of America by the Treaty of Paris following the Spanish–American War. Therefore, the international community only recognizes the first Philippine presidency under the US-associated Commonwealth of the Philippines.
  3. The position was created by an independent revolutionary state, the "Malolos Republic", but was not recognized internationally. The Philippine government now recognizes the Malolos Republic as its predecessor state, which it also calls the First Philippine Republic.
  4. The Department of Budget and Management (DBM) has indicated on their website that the president's salary grade is the 33rd. The 33rd salary grade on COMELEC's website states 395,858 pesos.

อ้างอิง แก้

  1. "Emilio Aguinaldo". Official Gazette of the Philippine Government. March 22, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-02-07. สืบค้นเมื่อ 2023-06-07.
  2. Guevara, Sulpico, บ.ก. (2005). The laws of the first Philippine Republic (the laws of Malolos) 1898–1899. Ann Arbor, Michigan: University of Michigan Library (ตีพิมพ์ 1972). สืบค้นเมื่อ January 10, 2011.
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 3.4 "1987 Constitution of the Republic of the Philippines". Chan Robles Virtual Law Library. สืบค้นเมื่อ January 7, 2008.
  4. "Salary Grade Table". COMELEC. Government of the Philippines. January 1, 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-01. สืบค้นเมื่อ 2023-06-07.
  5. Salary Grades of Positions of Constitutional and Other Officials and Their Equivalents.
  6. "NATIONAL-BUDGET-CIRCULAR-NO-588.pdf" (PDF). Department of Budget Management. Government of the Philippines. January 3, 2022.

บรรณานุกรม แก้

แหล่งข้อมูลอื่น แก้