แคดเมียมคลอไรด์
แคดเมียมคลอไรด์ (อังกฤษ: cadmium chloride) เป็นสารประกอบแคดเมียมและคลอรีน มีสูตรเคมีคือ CdCl2 มีลักษณะเป็นผลึกสีขาว มีคุณสมบัติเป็นสารดูดความชื้น โครงสร้างของแคดเมียมคลอไรด์เป็นทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแบบสมมาตร คล้ายกับโครงสร้างของแคดเมียมไอโอไดด์ แคดเมียมคลอไรด์เป็นกรดแบบลิวอิสแบบอ่อน[6][7] ละลายได้ดีในน้ำและตัวทำละลายมีขั้วอื่น ๆ
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
Cadmium dichloride
| |||
ชื่ออื่น
Cadmium(II) chloride
| |||
เลขทะเบียน | |||
| |||
3D model (JSmol)
|
|||
ChEBI | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.030.256 | ||
EC Number |
| ||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 2570 | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
CdCl2 | |||
มวลโมเลกุล | 183.31 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของแข็งสีขาว | ||
กลิ่น | ไม่มีกลิ่น | ||
ความหนาแน่น | 4.047 g/cm3 (anhydrous)[1] 3.327 g/cm3 (Hemipentahydrate) | ||
จุดหลอมเหลว | 568 องศาเซลเซียส (1,054 องศาฟาเรนไฮต์; 841 เคลวิน) at 760 mmHg | ||
จุดเดือด | 964 องศาเซลเซียส (1,767 องศาฟาเรนไฮต์; 1,237 เคลวิน) at 760 mmHg | ||
Hemipentahydrate: 79.5 g/100 mL (−10 °C) 90 g/100 mL (0 °C) Monohydrate: 119.6 g/100 mL (25 °C) 134.3 g/100 mL (40 °C) 134.2 g/100 mL (60 °C) 147 g/100 mL (100 °C)[2] | |||
ความสามารถละลายได้ | ละลายในแอลกอฮอล์, เบนโซไนไทรล์ ไม่ละลายในอีเทอร์, แอซีโทน[1] | ||
ความสามารถละลายได้ ใน pyridine | 4.6 g/kg (0 °C) 7.9 g/kg (4 °C) 8.1 g/kg (15 °C) 6.7 g/kg (30 °C) 5 g/kg (100 °C)[1] | ||
ความสามารถละลายได้ ใน ethanol | 1.3 g/100 g (10 °C) 1.48 g/100 g (20 °C) 1.91 g/100 g (40 °C) 2.53 g/100 g (70 °C)[1] | ||
ความสามารถละลายได้ ใน dimethyl sulfoxide | 18 g/100 g (25 °C)[1] | ||
ความดันไอ | 0.01 kPa (471 °C) 0.1 kPa (541 °C) | ||
ความหนืด | 2.31 cP (597 °C) 1.87 cP (687 °C)[1] | ||
โครงสร้าง | |||
ทรงสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน, hR9 (anhydrous)[3] โมโนคลินิก (hemipentahydrate)[2] | |||
R3m, No. 166 (anhydrous)[3] | |||
3 2/m (anhydrous)[3] | |||
อุณหเคมี | |||
ความจุความร้อน (C)
|
74.7 J/mol·K | ||
Std molar
entropy (S⦵298) |
115.3 J/mol·K | ||
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−391.5 kJ/mol | ||
พลังงานเสรีกิบส์ (ΔfG⦵)
|
−343.9 kJ/mol | ||
ความอันตราย | |||
GHS labelling: | |||
[4] | |||
อันตราย | |||
H301, H330, H340, H350, H360, H372, H410[4] | |||
P210, P260, P273, P284, P301+P310, P310[4] | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LD50 (median dose)
|
94 mg/kg (rats, ทางปาก)[1] 60 mg/kg (mouse, ทางปาก) 88 mg/kg (rat, ทางปาก)[5] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible)
|
[1910.1027] TWA 0.005 mg/m3 (as Cd) | ||
REL (Recommended)
|
Ca | ||
IDLH (Immediate danger)
|
Ca [9 mg/m3 (as Cd)] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | External MSDS | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
แอนไอออนอื่น ๆ
|
แคดเมียมฟลูออไรด์ แคดเมียมโบรไมด์ แคดเมียมไอโอไดด์ | ||
แคทไอออนอื่น ๆ
|
สังกะสีคลอไรด์ เมอร์คิวรี(II) คลอไรด์ แคลเซียมคลอไรด์ | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
แคดเมียมคลอไรด์แบบแอนไฮดรัสเตรียมได้จากปฏิกิริยาของคลอรีนหรือแก๊สไฮโดรเจนคลอไรด์และแคดเมียม ตามสมการ
- Cd + 2 HCl → CdCl2 + H2
กรดไฮโดรคลอริกสามารถสร้างแคดเมียมคลอไรด์ได้ จากการทำปฏิกิริยากับสารเช่น แคดเมียมออกไซด์หรือแคดเมียมคาร์บอเนต
แคดเมียมคลอไรด์ใช้ในการเตรียมแคดเมียมซัลไฟด์ เพื่อใช้ทำแคดเมียมเยลโลว์ รงควัตถุอนินทรีย์สีเหลืองสด ตามสมการ
- CdCl2 + H2 → CdS + 2 HCl
ในห้องปฏิบัติการ แคดเมียมคลอไรด์ใช้ในการเตรียมสารประกอบออร์แกโนแคดเมียม นอกจากนี้ยังใช้ในกระบวนการถ่ายเอกสารและการชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 Anatolievich, Kiper Ruslan. "cadmium chloride". chemister.ru. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-05-24. สืบค้นเมื่อ 2014-06-25.
- ↑ 2.0 2.1 Seidell, Atherton; Linke, William F. (1919). Solubilities of Inorganic and Organic Compounds (2nd ed.). New York: D. Van Nostrand Company. p. 169.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 "Cadmium Chloride - CdCl2". wwwchem.uwimona.edu.jm. Mona, Jamaica: The University of the West Indies. สืบค้นเมื่อ 2014-06-25.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "Cadmium chloride". Sigma-Aldrich.
- ↑ "Cadmium compounds (as Cd) - IDLH". Centers for Disease Control and Prevention (CDC).
- ↑ N. N. Greenwood, A. Earnshaw, Chemistry of the Elements, 2nd ed., Butterworth-Heinemann, Oxford, UK, 1997.
- ↑ A. F. Wells, Structural Inorganic Chemistry, 5th ed., Oxford University Press, Oxford, UK, 1984.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ แคดเมียมคลอไรด์
- "Cadmium chloride - MSDS". Science Lab. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-04-04. สืบค้นเมื่อ 2017-01-14.