เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 นัดชิงชนะเลิศ

การแข่งขัน เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019, เป็นครั้งที่ 38 ของทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลระดับสูงสุดของสโมสรในทวีปเอเชียจัดตั้งขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี), และเป็นครั้งที่ 17 ภายใต้ชื่อ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก.

เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019 นัดชิงชนะเลิศ
รายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2019
รวมผลสองนัด
เลกแรก
วันที่9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
สนามคิง ซาอุด ยูนิเวอรฺซิตี สเตเดียม, รียาด
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
อันเดร การ์ริโย (อัล-ฮิลาล)[1]
ผู้ตัดสินอาลี ซาบาห์ (อิรัก)[1]
ผู้ชม22,549 คน[1]
สภาพอากาศเย็นและสบาย
26 องศาเซลเซียส (79 องศาฟาเรนไฮต์)[1]
เลกที่สอง
วันที่24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562
สนามสนามกีฬาไซตะมะ 2002, ไซตามะ
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
เซบัสเตียน โจวินโก (อัล-ฮิลาล)[2]
ผู้ตัดสินวาเลนติน คอวาเลนโก (อุซเบกิสถาน)[2]
ผู้ชม58,109 คน[2]
สภาพอากาศเย็นสบาย
14 องศาเซลเซียส (57 องศาฟาเรนไฮต์)[2]
2018
2020

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ แก้

ทีม โซน ปีที่ผ่านมาที่ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ (ตัวหนา หมายถึง ชนะเลิศ)
  อัล-ฮิลาล ภาคตะวันตก (โซน: WAFF) 6 (1986[A], 1987[B], 1991, 2000, 2014, 2017)
  อูราวะ เรดไดมอนส์ ภาคตะวันออก (โซน: EAFF) 2 (2007, 2017)
หมายเหตุ
  • ^ รอบชิงชนะเลิศเมื่อปี 1986 เป็นการลงเล่นในรูปแบบพบกันหมดสี่ทีม, กับอัล-ฮิลาลสิ้นสุดในฐานะรองชนะเลิศ.
  • ^ อัล-ฮิลาล ไม่สามารถที่จะเข้าร่วมในรอบชิงชนะเลิศปี 1987 และหลังจากนั้นถูกประกาศในฐานะรองชนะเลิศ.
  • เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ แก้

    หมายเหตุ: (H: เหย้า; A: เยือน)

      อัล-ฮิลาล รอบ   อูราวะ เรดไดมอนส์
    คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน
      อัล-อิน 1–0 (A) นัดที่ 1   บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–0 (H)
      อัล-ดูฮาอิล 3–1 (H) นัดที่ 2   เป่ย์จิง เอฟซี 0–0 (A)
      เอสเตกลาล 1–2 (A) นัดที่ 3   ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 0–1 (H)
      เอสเตกลาล 1–0 (H) นัดที่ 4   ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 1–2 (A)
      อัล-อิน 2–0 (H) นัดที่ 5   บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–1 (A)
      อัล-ดูฮาอิล 2–2 (A) นัดที่ 6   เป่ย์จิง เอฟซี 3–0 (H)
    ชนะเลิศ กลุ่ม ซี
    อันดับ ทีม เล่น คะแนน
    1   อัล-ฮิลาล 6 13
    2   อัล-ดูฮาอิล 6 9
    3   เอสเตกลาล 6 8
    4   อัล-อิน 6 2
    แหล่งที่มา : เอเอฟซี
    ตารางคะแนน รองชนะเลิศ กลุ่ม จี
    อันดับ ทีม เล่น คะแนน
    1   ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ 6 13
    2   อูราวะ เรดไดมอนส์ 6 10
    3   เป่ย์จิง เอฟซี 6 7
    4   บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 6 4
    แหล่งที่มา : เอเอฟซี
    คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดสอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดสอง
      อัล-อาห์ลี 4–3 4–2 (A) 0–1 (H) รอบ 16 ทีมสุดท้าย   อุลซัน ฮุนได 4–2 1–2 (H) 3–0 (A)
      อัล-อิตติฮัด 3–1 0–0 (A) 3–1 (H) รอบก่อนรองชนะเลิศ   เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 3–3 (a) 2–2 (A) 1–1 (H)
      อัล-ซาดด์ 6–5 4–1 (A) 2–4 (H) รอบรองชนะเลิศ   กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ 3–0 2–0 (H) 1–0 (A)

    แมตช์ แก้

    เลกแรก แก้

    สรุปผลการแข่งขัน แก้

    รายละเอียด แก้

     
     
     
     
     
     
     
     
     
    อัล-ฮิลาล
     
     
     
     
     
     
     
    อูราวะ เรดไดมอนส์
    GK 1   Abdullah Al-Mayouf
    RB 2   Mohammed Al-Breik
    CB 20   Jang Hyun-soo
    CB 5   Ali Al Bulaihi   38'
    LB 12   Yasser Al-Shahrani
    RM 19   André Carrillo
    CM 7   Salman Al-Faraj (กัปตัน)
    CM 8   Abdullah Otayf   89'
    LM 29   Salem Al-Dawsari
    CF 9   Sebastian Giovinco   87'
    CF 18   Bafétimbi Gomis
    ผู้เล่นสำรอง:
    GK 30   Mohammed Al-Waked
    DF 70   Mohammed Jahfali
    MF 24   Nawaf Al Abed   87'
    MF 27   Hattan Bahebri
    MF 28   Mohamed Kanno   89'
    FW 10   Mohammad Al-Shalhoub
    FW 11   Saleh Al-Shehri
    ผู้จัดการทีม:
      Răzvan Lucescu
    GK 25   Haruki Fukushima
    CB 31   Takuya Iwanami
    CB 4   Daisuke Suzuki
    CB 5   Tomoaki Makino
    CM 8   Ewerton
    CM 16   Takuya Aoki
    RM 27   Daiki Hashioka
    LM 41   Takahiro Sekine   85'
    AM 7   Kazuki Nagasawa   75'
    AM 12   Fabrício
    CF 30   Shinzo Koroki (กัปตัน)
    ผู้เล่นสำรอง:
    GK 23   Nao Iwadate
    DF 2   Maurício Antônio
    DF 3   Tomoya Ugajin   85'
    MF 10   Yōsuke Kashiwagi
    MF 22   Yuki Abe
    MF 29   Kai Shibato
    FW 14   Kenyu Sugimoto   75'
    ผู้จัดการทีม:
      Tsuyoshi Otsuki

    ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
    André Carrillo (อัล-ฮิลาล)[1]

    ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[1]
    Hayder Abdulhasan Ali Ubaydee (Iraq)
    Ameer Hussein (Iraq)
    ผู้ตัดสินที่สี่:
    Watheq Al-Swaiedi (Iraq)
    ผู้ช่วยผู้ตัดสินเพิ่มเติม:
    Mohanad Qasim Sarray (Iraq)
    Omar Al-Yaqoubi (Oman)

    กฏ-กติกา[3]

    • 90 นาที.
    • มีชื่อผู้เล่นสำรองเจ็ดคน, แต่ถูกนำมาใช้เปลี่ยนตัวได้แค่สามคน.

    สถิติ แก้

    โดยรวม
    สถิติ อัล-ฮิลาล อูราวะ เรดไดมอนส์
    ประตูที่ทำได้ 1 0
    ยิงทั้งหมด 22 2
    ยิงเข้ากรอบ 6 1
    ยิงติดบล็อก 8 1
    เปอร์เซ็นต์การครองบอล 70% 30%
    เตะมุม 9 2
    การผ่านบอล 680 293
    เสียฟาวล์ 10 12
    ล้ำหน้า 3 1
    ใบเหลือง 1 0
    ใบแดง 0 0

    เลกที่สอง แก้

    สรุปผลการแข่งขัน แก้

    รายละเอียด แก้

     
     
     
     
     
     
     
    อูราวะ เรดไดมอนส์
     
     
     
     
     
     
     
     
     
    อัล-ฮิลาล
    GK 1   Shusaku Nishikawa
    CB 31   Takuya Iwanami   57'
    CB 4   Daisuke Suzuki
    CB 5   Tomoaki Makino   76'
    CM 8   Ewerton
    CM 16   Takuya Aoki   53'   88'
    RM 27   Daiki Hashioka
    LM 41   Takahiro Sekine   43'
    AM 7   Kazuki Nagasawa   63'
    AM 12   Fabrício   71'
    CF 30   Shinzo Koroki (กัปตัน)
    ผู้เล่นสำรอง:
    GK 25   Haruki Fukushima
    DF 2   Maurício Antônio
    DF 3   Tomoya Ugajin
    MF 10   Yōsuke Kashiwagi   63'
    MF 22   Yuki Abe   88'
    MF 29   Kai Shibato
    FW 14   Kenyu Sugimoto   71'
    ผู้จัดการทีม:
      Tsuyoshi Otsuki
    GK 1   Abdullah Al-Mayouf
    RB 2   Mohammed Al-Breik   80'
    CB 20   Jang Hyun-soo
    CB 5   Ali Al Bulaihi
    LB 12   Yasser Al-Shahrani
    RM 19   André Carrillo
    CM 7   Salman Al-Faraj (กัปตัน)
    CM 8   Abdullah Otayf   90+4'
    LM 29   Salem Al-Dawsari
    CF 9   Sebastian Giovinco   88'
    CF 18   Bafétimbi Gomis
    ผู้เล่นสำรอง:
    GK 30   Mohammed Al-Waked
    DF 17   Abdullah Al-Hafith   80'
    MF 24   Nawaf Al Abed
    MF 27   Hattan Bahebri
    MF 28   Mohamed Kanno   88'
    FW 10   Mohammad Al-Shalhoub   90+4'
    FW 11   Saleh Al-Shehri
    ผู้จัดการทีม:
      Răzvan Lucescu

    ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
    Sebastian Giovinco (อัล-ฮิลาล)[2]

    ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
    Andrey Tsapenko (Uzbekistan)
    Timur Gaynullin (Uzbekistan)
    ผู้ตัดสินที่สี่:
    Ruslan Seratzidinov (Uzbekistan)
    ผู้ช่วยผู้ตัดสินเพิ่มเติม:
    Aziz Asimov (Uzbekistan)
    Ilgiz Tantashev (Uzbekistan)

    กฏ-กติกา[3]

    • 90 นาที.
    • 30 นาทีของ การต่อเวลาพิเศษ ถ้าเสมอกันในการรวมผลสองนัดและ ประตูทีมเยือน.
    • การดวลลูกโทษ ถ้าผลการแข่งขันยังเสมอกันหลังต่อเวลาพิเศษ (ไม่มีกฏประตูทีมเยือนนำมาประยุกต์).
    • มีชื่อผู้เล่นสำรองเจ็ดคน, แต่ถูกนำมาใช้เปลี่ยนตัวได้แค่สามคน.

    สถิติ แก้

    โดยรวม
    สถิติ อูราวะ เรดไดมอนส์ อัล-ฮิลาล
    ประตูที่ทำได้ 0 2
    ยิงทั้งหมด 6 19
    ยิงเข้ากรอบ 2 8
    ยิงติดบล็อก 2 7
    เปอร์เซ็นต์การครองบอล 54% 46%
    เตะมุม 5 27
    การผ่านบอล 370 307
    เสียฟาวล์ 13 20
    ล้ำหน้า 2 4
    ใบเหลือง 4 0
    ใบแดง 0 0

    ดูเพิ่ม แก้

    อ้างอิง แก้

    1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Al Hilal SFC v Urawa Red Diamonds". the-afc.com. Asian Football Confederation. 9 พฤศจิกายน 2019. สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2019.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
    2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Urawa Red Diamonds v Al Hilal SFC". the-afc.com. Asian Football Confederation. 24 พฤศจิกายน 2019. สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 2019.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
    3. 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations

    แหล่งข้อมูลอื่น แก้