สโมสรฟุตบอลอัลฮิลาล

สโมสรอัลฮิลาลุสซะอูดี (อาหรับ: نادي الهلال السعودي; อังกฤษ: Al-Hilal Saudi Football Club) หรือที่เรียกกันสั้นว่า อัลฮิลาล เป็นสโมสรฟุตบอลในกรุงริยาด ประเทศซาอุดีอาระเบีย ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2500 (ค.ศ.1957) [1]

อัลฮิลาล
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลอัลฮิลาลซะอูด
ฉายาAl-Za'eem (เดอ ลีเดอร์)
ก่อตั้ง1957
(as the Olympic Club)
สนามสนามกีฬาแห่งชาติสมเด็จพระราชาธิบดีฟาฮัด,
ริยาด
ความจุ68,752
ประธานอับดุลเราะห์มาน บิน มูซาอัด บิน อับดุล อาซิส
ผู้จัดการฌอร์ฌึ ฌึซุช
ลีกซาอุดีโปรเฟสชันนัลลีก
2023/24อันดับที่ 1
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน

สโมสรอัลฮิลาลมีผลงานชนะเลิศในลีกสูงสุดของประเทศซาอุดีอาระเบียถึง 13 สมัย ครองสถิติคว้าแชมป์ลีกได้มากที่สุด และเคยคว้าแชมป์ระดับทวีปในรายการเอเอฟซี แชมเปียนส์ลีก 4 สมัย

ประวัติ

แก้
 
ด้านซ้าย โรเบโต้ ริเวลลิโน่(บราซิล)
และด้านขวา นาจีบ อัล อิหม่ามในปี พ.ศ. 2522

สโมสรอัลฮิลาลก่อตั้งโดย อับดุลเราะห์มาน บิน ซาอิด เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2500 ในชื่อดิ โอลิมปิก คลับ ต่อมาชื่อของสโมสรถูกเปลี่ยนไปเมื่อ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2501 โดยพระราชกฤษฎีกาจากกษัตริย์ซะอูด (King Saud) หลังจากที่ได้เข้าร่วมทัวร์นาเมนต์ที่แข่งขันระหว่างดิโอลิมปิกคลับ, อัชชะบาบ, อัรริยาฏ และแอลคาวคับ[2]

เกียรติประวัติ

แก้

ภายในประเทศ

แก้
 
อัลฮิลาล ชนะเลิศ ปี 2010
  • Saudi Federation cup
    • ชนะเลิศ (7) : 1987, 1990, 1993, 1996, 2000, 2005, 2006
    • รองชนะเลิศ(5) : 1986, 2002, 2003, 2008, 2010

ระดับนานาชาติ

แก้

เอเชีย

แก้

ระดับโลก

แก้

กัลฟ์

แก้

อาหรับ

แก้

รายการอื่น

แก้

นักเตะ

แก้

ทีมหลัก

แก้

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
2 DF   โมฮัมเหม็ด อัล-เบรอิก
3 DF   คาลิดู คูลิบาลี
4 DF   คาลิฟา อัล-ดอซารี
5 DF   อาลี อัล-บูไลยี
6 DF   เรนัน โลดี
7 MF   ซัลมาน อัล-ฟาราจ (กัปตันทีม)
8 MF   รูเบน เนเวส
9 FW   อเล็กซานดาร์ มิโตรวิช
10 FW   เนย์มาร์
11 FW   ซาเลห์ อัล-เชห์รี
12 DF   ยาสเซอร์ อัล-ชาห์รานี
14 FW   อับดุลลาห์ อัล-ฮัมดาน
16 DF   นาสเซอร์ อัล-ดอซารี
17 GK   โมฮัมเหม็ด อัล-รูไบอี
21 GK   โมฮัมเหม็ด อัล-โอวาอีส
22 MF   มิลินโควิช ซาวิช
26 MF   อับดุลเอลลาห์ อัล-มัลคี
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
28 MF   โมฮาเหม็ด คันโน
29 MF   ซาเล็ม อัล-ดอซารี
31 GK   ฮาบิบ อัล-โวตายาน
32 DF   มูเตบ อัล-มูฟาร์ริจ
33 MF   อัลดุลลาห์ อัล ซาอิด
37 GK   ยาสซีน บูว์นู
39 MF   โมฮัมเหม็ด อัล-ซาอิด
39 MF   ซูฮาบ อัล-ซาอิด
40 GK   อาเหม็ด อาบู ราเซ็น
45 MF   ไฟซาล อัล-อัสมารี
56 MF   โมฮัมเหม็ด อัล-กาห์ตานี
66 DF   ซาอูด อับดุลฮามิด
70 DF   โมฮัมเหม็ด จาห์ฟาลี
77 FW   มัลคอม เฟลิเป้
96 FW   ไมเคิล โอลิเวียร่า

ปล่อยให้ยืมตัว

แก้

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
13 DF   Abdulrahman Al-Obaid (on loan to Al-Ettifaq)
15 MF   Matheus Pereira (on loan to Al-Wahda)
27 MF   Fawaz Al-Torais (on loan to Al-Adalah)
34 FW   Turki Al-Mutairi (on loan to Al-Taawoun)
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
44 MF   Saad Al-Nasser (on loan to Al-Taawoun)
49 FW   Abdullah Radif (on loan to Al-Taawoun)
55 MF   Hamad Al-Abdan (on loan to Al-Khaleej)
DF   Bander Wohaishi (on loan to Al-Jabalain)

อ้างอิง

แก้
  1. "Al-Hilal championships of the first football team". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-02. สืบค้นเมื่อ 2012-03-19.
  2. "The story of Al Hilal Foundation". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-09-19. สืบค้นเมื่อ 2012-03-19.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้